[x] ปิดหน้าต่างนี้
 

 

 

 

  

 

ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแก้งสนามนาง
สถานที่ตั้ง ถนนนิเวศน์รัตน์ ต.แก้งสนมนาง อ.แก้งสนมนาง จ.นครราชสีมา 30440
โทร 0-4433-9133 โทรสาร 0-4433-9133

                    1. อาคารสำนักงาน
ลักษณะอาคาร คอนกรีตชั้นเดียว
ความเป็นเจ้าของ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากโรงงาน
น้ำตาลราชสีมา
จำนวนพื้นที่ใช้สอย 600 ตารางเมตร
ก่อสร้างเมื่อ / อายุอาคาร เมื่อ พ.ศ. 2542

ปรับปรุงครั้งล่าสุดเมื่อปีงบประมาณ 2550
รายการที่ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงแผ่นฝ้า , ซ่อมแซมห้องน้ำ
วงเงิน 5,500 บาท
2. จำนวนที่ดินที่ครอบครอง 1 ไร่ 2 งาน
ใช้ประโยชน์ 1 ไร่ 2 งาน
ไม่ใช้ประโยชน์ - ไร่
3. จำนวนยานพาหนะ - คัน ได้แก่
ประเภท - อายุ - ปี
สถานที่เก็บรักษา -
4. จำนวนครุภัณฑ์สำนักงานจำเป็นพื้นฐาน
คอมพิวเตอร์ (ใช้งานสำนักงาน) 4 เครื่อง
โทรทัศน์ 1 เครื่อง
เครื่องเล่น DVD, VCD 1 เครื่อง
เครื่องสำเนาดิจิตอล/เครื่องถ่ายเอกสาร - เครื่อง
กล้องดิจิตอล/กล้อง VDO - เครื่อง
โปรเจคเตอร์ - เครื่อง

สถานที่ตั้ง  ถนนนิเวศน์รัตน์  ต.แก้งสนมนาง  อ.แก้งสนมนาง จ.นครราชสีมา  30440

โทร  0-4433-9133              โทรสาร   0-4433-9133

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ตั้งอยู่เลขที่ – หมู่ที่ ๑๑ ถนนนิเวศรัตน์ ตำบลแก้งสนามนาง อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา สังกัดสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนการเรียนการสอนระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีบุคลากร จำนวน ๑๔ คน มีนักศึกษา จำนวน ๙๕๑ คน จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เมื่อวันที่ ๒๔ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ถึงวันที่ ๒๖ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามรายมาตรฐาน และ ตัวบ่งชี้ ของสำนักงาน กศน. สามารถสรุปผลการประเมิน ได้ดังนี้ สรุปผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐานของสถานศึกษา โดยภาพรวมในแต่ละมาตรฐานและ ตัวบ่งชี้ของสถานศึกษา มีดังนี้ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ แก้งสนามนาง ตามมาตรฐานของสถานศึกษา พบว่า ผลการประเมินในภาพรวมสถานศึกษามีค่าคะแนนผลการประเมิน เท่ากับ ๘๔.๓๐ อยู่ในระดับคุณภาพดี เมื่อพิจารณาผลการประเมินตามมาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ พบว่า มีค่าคะแนนผลการประเมินเท่ากับ ๒๙.๒๐ มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ พบว่า มีค่าคะแนนผลการประเมินเท่ากับ ๒๑.๑๐ มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา พบว่า มีค่าคะแนนผลการประเมินเท่ากับ ๙ มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา พบว่า มีค่าคะแนนผลการประเมินเท่ากับ ๘.๒๐ มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา พบว่า มีค่าคะแนนผลการประเมินเท่ากับ ๘.๔๐ และ มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม พบว่า มีค่าคะแนนผลการประเมินเท่ากับ ๘.๔๐ ดังรายละเอียดตามตารางที่ ๑ สรุปผลการประเมินตนเองตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ.๒๕๕๓ ทั้ง ๔ ด้าน ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ.๒๕๕๓ ทั้ง ๔ ด้าน ของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง พบว่า มาตรฐานด้านที่ ๑ มีค่าคะแนน ๔๑.๘๐ อยู่ในระดับคุณภาพดี มาตรฐานด้านที่ ๒ มีค่าคะแนน ๑๖.๒๐ อยู่ในระดับคุณภาพดี มาตรฐานด้านที่ ๓ มีค่าคะแนน ๑๘.๑๐ อยู่ในระดับคุณภาพดี และมาตรฐานด้านที่ ๔ มีค่าคะแนน ๘.๒๐ อยู่ในระดับคุณภาพดี ดังรายละเอียดตามตารางที่ ๒ สรุปผลการวิเคราะห์ตนเองของสถานศึกษา สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ดี ซึ่งบรรลุเป้าหมายความสำเร็จที่กำหนดไว้ จุดเด่นของสถานศึกษา ๑. คณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่ายมีความเข้มแข้งเอื้อต่อการจัดการศึกษา ๒. สถานศึกษามีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน/สังคมทำให้ได้รับความร่วมมือในการดำเนินโครงการ/ กิจกรรม จุดที่ควรพัฒนา ๑. สถานศึกษาควรพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถตรงกับงานหรือวิชาที่ต้องรับผิดชอบรวมถึงการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานหรือการสอนให้เป็นระบบ ๒. สถานศึกษาควรจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้มีกิจกรรมและสื่อที่หลากหลายเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ไดตามศักยภาพของผู้เรียน ๓. เอกสารหลักฐานขาดความชัดเจน สมบรูณ์ โดยเฉพาะการติดตามประเมินผลการดำเนินงานควรดำเนินการให้เกิดความชัดเจน ในประเด็นการวิเคราะห์ผลและผลการประเมินมาพิจารณาเพื่อการพัฒนางาน ๔. สถานศึกษาควรดำเนินการเพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความหลากหลายของชุมชนให้คงอยู่ โดยมีผู้สืบทอดภูมิปัญญาในรุ่นต่อไป ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา ๑. สถานศึกษาควรพัฒนางานด้านบุคลากรโดยเฉพาะครู เริ่มจากการสำรวจเพื่อวางแผนพัฒนาบุคลากร จากนั้นจัดโครงการ/กิจกรรมพัฒนาบุคลากรตามแผนที่วางไว้ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานบุคลากร แล้วนำผลการประเมินมาวิเคราะห์ พิจารณาว่าบุคลากรท่านใดควรพัฒนาความรู้ความสามารถหรือทักษะด้านใดเป็นพิเศษ ทั้งในระดับเร่งด่วนไปจนถึงภายใน ๓ ทำให้เป็นระบบ ๒. สถานศึกษาควรเก็บข้อมูล/สำรวจเกี่ยวกับผู้เรียนเพื่อวางแผนจัดโครงการ/กิจกรรม พร้อมทั้งใช้สื่อ เทคโนโลยี ให้ตรงกับผู้เรียนที่มีความหลากหลาย เพื่อจัดให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพของผู้เรียนที่มีความแตกต่างกันทั้งช่วงอายุและสภาพทางบ้าน ๓. สถานศึกษาควรจัดการเอกสารหลักฐานให้มีความเป็นระบบ ชัดเจน และสมบรูณ์ โดยเฉพาะเรื่อง การดำเนินโครงการ/กิจกรรม รวมถึงการติดตามและประเมิน เพื่อนำผลมาวิเคราะห์และพิจารณาเพื่อการพัฒนางาน ซึ่งอาจนำเอาเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการดำเนินงานทั้งด้านการจัดเก็บและการประมวลผล ๔. สถานศึกษาควรดำเนินงานเพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความหลากหลายของชุมชนให้คงอยู่ โดยเริ่ม จากการให้ความสำคัญกับปราชญ์ชาวบ้าน/ผู้เฒ่าในหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือองค์ความรู้ดั้งเดิมที่เป็นประโยชน์และกำลังจะสูญหายเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนเพื่อให้ท่านผู้นั้นได้เห็นว่าสถานศึกษาให้ความสำคัญ จากนั้นจึงจัดผู้เรียนในแต่ละช่วงอายุมาเรียนรู้เพื่อสืบทอดภูมิปัญญาในรุ่นต่อไป ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต ๑. สถานศึกษาควรเร่งดำเนินการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น เครื่อง คอมพิวเตอร์ หรือ หนังสือแบบเรียนใช้เวียนกันในแต่ละ กศน.ตำบล โดยจัดชั่วโมงสอนในแต่ละรายวิชาไม่ตรงกันจะได้ระดมหนังสือแบบเรียนได้ ทีวีดาวทียมควรจัดตารางเปิดและแจ้งประชาสัมพันธ์ให้ผู้เรียนทราบเวลาที่ชัดเจนเพื่อให้ผู้เรียนที่สนใจสามารถบริหารเวลาเข้าชมได้ เป็นต้น ๒. สถานศึกษาควรนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อการจัดการกับเอกสารหลักฐานและข้อมูลพื้นฐาน เพื่อใช้ในการการบริหารจัดการองค์กรอย่างเป็นระบบ สะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ควรดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี ๓. สถานศึกษาควรจัดประชุมระดมสมองเพื่อวางแผนหาทางอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความหลากหลายใน ชุมชนให้สามารถดำรงอยู่ต่อไป เช่น หมอขวัญ แพทย์แผนไทย เป็นต้น อาจเริ่มจากการสำรวจและรวบรวมองค์ความรู้ให้เป็นระบบ ด้วยการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยจัดการทำเป็นระบบฐานข้อมูลบนสื่อดิจิตอล จากนั้นจึงดำเนินโครงการ/กิจกรรม จัดผู้เรียนเพื่อเรียนรู้สืบทอดต่อไป ๔. สถานศึกษาควรมีการจัดโครงการ/กิจกรรมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้(KM) ด้านการปฏิบัติงานหรือแนว ทางการสอนระหว่างบุคลากรหรือผู้สอนใน กศน.ตำบลแต่ละตำบลเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีแนวทางการดำเนินการที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง ตารางที่ ๑ สรุปผลการประเมินตนเองโดยภาพรวมในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ของสถานศึกษา มีดังนี้ มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๓๕ ๒๙.๒๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียน คิดเป็นทาเป็น ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๑๐ ๖ พอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ๕ ๔.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑. ๗ ผู้เรียนมีงานทำหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๕ ๔.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๘ ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ๓ ๓ ดีมาก มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๒๕ ๒๑.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพของหลักสูตร ๔ ๓ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของครู ๔ ๓ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๔ ๓ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพผู้สอน/วิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ คุณภาพสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้รับบริการ ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๔ ๓.๑๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๓ ๓ ดีมาก มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา ๑๐ ๙ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ๒ ๑.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ ผลการบริหารความเสี่ยง ๒ ๑.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๕ ผลการปฏิบัติตามบทบาทของกรรมการสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ๑๐ ๘.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๕ ๔.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๒ การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ๕ ๔.๑๐ ดี ตารางที่ ๑ (ต่อ) สรุปผลการประเมินตนเองโดยภาพรวมในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ของสถานศึกษา มีดังนี้ มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๑๐ ๘.๔๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑ ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา ๕ ๔.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อนเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๕ ๔.๒๐ ดี มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม ๑๐ ๘.๔๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ทางศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ๕ ๔.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๒ ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน ๕ ๔.๒๐ ดี รวม ๑๐๐ ๘๔.๓๐ ดี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง มีค่าคะแนนผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาโดยภาพรวม เท่ากับ ๘๔.๓๐ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ตารางที่ ๒ สรุปผลคุณภาพของสถานศึกษาโดยภาพรวมตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ.๒๕๕๓ ทั้ง ๔ ด้านมีดังนี้ มาตรฐานกระทรวง ตัวบ่งชี้ น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ ผลการจัดการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ถึง ๑.๘ ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑ ถึง ๕.๒ และตัวบ่งชี้ที่ ๖.๒ ๕๐ ๔๑.๘๐ ดี การบริหารจัดการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ ถึง ๓.๕ และตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ๑๘ ๑๖.๒๐ ดี การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ ถึง ๒.๖ ๒๒ ๑๘.๑๐ ดี การประกันคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ และ ๔.๒ ๑๐ ๘.๒๐ ดี บทที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง สภาพทั่วไปของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง (Kaeng Sanam Nang District Non-formal and Informal Education Centre) เป็นสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครราชสีมา สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ  ที่ตั้ง ถนนนิเวศน์รัตน์ ต.แก้งสนมนาง อ.แก้งสนมนาง จ.นครราชสีมา ๓๐๔๔๐  หมายเลขโทรศัพท์ ๐-๔๔๓๓-๙๑๓๓ หมายเลขโทรสาร ๐-๔๔๓๓-๙๑๓๓  E – mail : kaeng@korat.nfe.go.th  Website : http://korat.nfe.go.th/kaeng/index.php ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา ประวัติสถานศึกษา : “ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง” ได้รับการจัดตั้งเป็นสถานศึกษา เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๖ โดยมีชื่อว่า “ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ แก้งสนามนาง” และเมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงเปลี่ยนชื่อเป็นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง เรียกโดยชื่อย่อว่า “ กศน.อำเภอแก้งสนามนาง ” ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ณ วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๑ อาณาเขต อำเภอแก้งสนามนางตั้งอยู่ทางทิศเหนือสุดของจังหวัดมีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอเมืองชัยภูมิและอำเภอคอนสวรรค์ (จังหวัดชัยภูมิ) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอแวงน้อย (จังหวัดขอนแก่น) และอำเภอบัวใหญ่ ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอบัวใหญ่และอำเภอบ้านเหลื่อม ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอเมืองชัยภูมิ (จังหวัดชัยภูมิ) สภาพชุมชน ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่โดยทั่วไป มีลักษณะเป็นที่ลาดดอนลูกคลื่น ลาดเอียงจากทางทิศใต้สู่ทิศเหนือ และลาดเอียงจากทางทิศตะวันออกสู่ทิศตะวันตก ลักษณะพื้นที่ราบลุ่ม จะอยู่ด้านตะวันตก เหมาะสำหรับเพาะปลูกข้าว ส่วนด้านทิศตะวันออกจะเป็นดอนลูกคลื่น เหมาะสำหรับเพาะปลูกพืชไร่ เช่น อ้อย มันสำปะหลัง แม่น้ำมีแม่น้ำชีไหลผ่านเป็นระยะทางประมาณ ๓๐ กิโลเมตร และมีลำห้วยหลัก ๓ ลำห้วย คือ ลำห้วยรวง ลำห้วยขี้หนู และ ลำห้วยยาง ลักษณะภูมิอากาศ เป็นแบบมรสุม มี ๓ ฤดู คือ • ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม-เมษายน • ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม-ตุลาคม • ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ พื้นที่การใช้ประโยชน์ ประมาณ ๘๐% ของพื้นที่ทั้งหมด ๑. พื้นที่เกษตร ๗๕% ๒. พื้นที่บ้านเรือน ๕% การปกครองและประชากร อำเภอแก้งสนามนาง ปัจจุบันยังไม่มีเขตเทศบาล มีองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน ๕ แห่งได้แก่ • แก้งสนามนาง • โนนสำราญ • บึงสำโรง • บึงพะไล • สีสุก และมีประชากรทั้งสิ้น ๓๗,๙๖๖ คน แยกเป็น ชาย ๑๘,๘๙๓ คน หญิง ๑๙,๑๐๓ คน การคมนาคม ติดต่อระหว่างอำเภอและจังหวัด รวมทั้งการคมนาคมภายในตำบลและหมู่บ้านมีรายละเอียด ดังนี้ • ทางหลวงแผ่นดิน สายนิเวศรัตน์ เป็นถนนลาดยาง • ทางหลวงแผ่นดิน สายประคำ – บ้านเหลื่อม เป็นถนนลาดยาง • ทางหลวงชนบท สายนิเวศรัตน์ – บ้านหนองบง เป็นถนนลูกรัง • ทางหลวงชนบท สายนิเวศรัตน์ – บ้านหนองขามนาดี เป็นถนนลูกรัง • ทางหลวงชนบท สายนิเวศรัตน์ – บ้านศิลาทอง เป็นถนนลูกรัง • ทางหลวงชนบท สายนิเวศรัตน์ – โมกมัน เป็นถนนลูกรัง การโทรคมนาคมติดต่อสื่อสาร ๑. มีที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข จำนวน ๑ แห่ง ๒. มีการให้บริการติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์โดยมีจำนวนคู่สาย ๓๘๐ คู่สาย ๓. มีหน่วยบริการผู้ใช้ไฟฟ้า สังกัดการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัด จำนวน ๑ แห่ง การสาธารณูปโภค ๑. การประปา - การประปาหมู่บ้าน จำนวน ๕๖ แห่ง ๒. แหล่งน้ำกิน-น้ำใช้ ประเภทอื่น - บ่อน้ำบาดาล - บ่อน้ำตื้น - ถังเก็บน้ำ - ถังเหล็กไฟเบอร์กลาส - ถังปูน/ถังปูนฉาบ - โอ่งน้ำขนาดใหญ่ ด้านเศรษฐกิจ การเกษตรกรรม มีพื้นที่การเกษตรทั้งสิ้น ๑๖๕,๖๙๐ ไร่ คิดเป็น ๘๖ % ของพื้นที่ทั้งหมด ครอบครัวเกษตร จำนวน ๖,๕๔๔ ครอบครัว สภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ๆ แยกได้ ดังนี้ การปศุสัตว์ มีการเลี้ยงสัตว์ คือ โค กระบือ สุกร และสัตว์ปีก อุตสาหกรรม มีโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับอนุญาตดำเนินการประกอบการ จำนวน ๑ แห่ง คือ โรงงานน้ำตาลราชสีมา การพาณิชย์ - มีสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงมาตรฐาน จำนวน ๓ แห่ง - มีธนาคาร จำนวน ๑ แห่ง ได้แก่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร - มีสหกรณ์ จำนวน ๓ แห่ง การท่องเที่ยว มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ ๑. เขื่อนยางบ้านแก้งสนามนาง ตำบลโนนสำราญ ๒. อ่างเก็บน้ำห้วยยางพะไล ตำบลบึงพะไล ๓. ป่าจานเฉลิมพระเกียรติ ตำบลโนนสำราญ การศึกษาส่วนใหญ่จบการศึกษาภาคบังคับ และมีแนวโน้มที่ผู้ปกครองสามารถส่งบุตรหลานเรียนต่อ ทั้งภาคการศึกษาในโรงเรียน และการศึกษานอกโรงเรียน การศึกษาในโรงเรียน • สพฐ. จำนวน ๒๖ โรงเรียน • สศ. จำนวน ๒ โรงเรียน • สช. จำนวน ๑ โรงเรียน การศึกษานอกโรงเรียน • กศน.ตำบล ๕ แห่ง • ห้องสมุดประชาชน ๑ แห่ง • ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ๕ แห่ง • ห้องสมุดวัด ๔ แห่ง • โรงเรียนปริยัติธรรมแผนรวม ๕ แห่ง • ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด ๒ แห่ง • หน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล ๕ แห่ง การศาสนาและศิลปวัฒนธรรม ๑. การศาสนา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธประมาณร้อยละ ๙๘ % ศาสนาอื่นๆประมาณร้อยละ ๒% • ที่พักสงฆ์ จำนวน ๒๑ แห่ง • สำนักสงฆ์ จำนวน ๑๖ แห่ง • วัด จำนวน ๙ แห่ง • มัสยิด จำนวน ๑ แห่ง ๒. ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี การทอผ้าไหม งานบุญบั้งไฟ งานบุญข้าวจี่ งานเทศกาลดอกจานบานที่แก้งสนามนาง งานฉลองวันแห่งชัยชนะท้าวสุรนารี งานสืบสานประเพณีสงกรานต์ งานสืบสานประเพณีลอยกระทง ทำเนียบผู้บริหาร ลำดับที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง ระยะเวลา ที่ดารงตำแหน่ง ๑ นายบุญยง ครูศรี รักษาการหัวหน้าศูนย์ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๗ - พ.ศ. ๒๕๓๘ ๒ นายทรงวุฒิ สุธาอรรถ รักษาการหัวหน้าศูนย์ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๘ - พ.ศ. ๒๕๓๙ ๓ นายปัญญา ผลทิพย์ หัวหน้าศูนย์ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๙ - พ.ศ. ๒๕๔๐ ๔ นายสนั่น เตชะนอก หัวหน้าศูนย์ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๐ - พ.ศ. ๒๕๔๐ ๕ นายบุญส่ง สุภเดช หัวหน้าศูนย์ ๑ ผู้อำนวยการ พ.ศ. ๒๕๔๐ - พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๑ - พ.ศ. ๒๕๔๗ ๖ นายบุญส่ง เพ็ชรแท้ ผู้อำนวยการ พ.ศ. ๒๕๔๗ - พ.ศ. ๒๕๔๙ ๗ นายเกษม บาตรโพธิ์ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ พ.ศ. ๒๕๔๙ - พ.ศ. ๒๕๕๐ ๘ นางอินทิรา สงวนวงษ์ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ พ.ศ. ๒๕๕๐ - พ.ศ. ๒๕๕๒ ๙ นายอนันต์ ศรีวงษ์ชัย รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ พ.ศ. ๒๕๕๒ - พ.ศ.๒๕๕๕ ๑๐ นางสาวสมร พงษ์พันธ์ ผู้อำนวยการ พ.ศ. ๒๕๕๕ - พ.ศ.๒๕๕๘ ๑๑ นายคมพิสิษฐ์ ดังไธสงฆ์ ผู้อำนวยการ พ.ศ. ๒๕๕๙-ปัจจุบัน รายชื่อคณะกรรมการสถานศึกษา ลำดับที่ ชื่อ -สกุล ตำแหน่ง ๑ นายสุพจน์ ตากลม ประธานกรรมการ ๒ นายสมจิตร์ โทแหล่ง กรรมการ ๓ นายเสถียร ยอดดี กรรมการ ๔ นายสาคร อินทรบำรุง กรรมการ ๕ นายไพรวัลย์ ธีรเมธาทิพย์รัตน์ กรรมการ ๖ นายอุทัย มาตรเริง กรรมการ ๗ นายเกรียงไกร วงษ์ศรี กรรมการ ๘ พระมหาอุเทน มหาปัญโญ กรรมการ ๙ นายคมพิสิษฐ์ ดังไธสงฆ์ กรรมการและเลขานุการ ด้านผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ จำนวนผู้เรียน ผู้รับบริการ และจำนวนผู้สอน หลักสูตร/ประเภท จำนวนผู้เรียน รวม จำนวนผู้สอน ชาย หญิง การศึกษาขั้นพื้นฐาน(ภาคเรียนที่๑ปีการศึกษา๒๕๕๙) -ระดับประถมศึกษา ๒๘ ๕๓ ๘๑ ๑๐ -ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๒๐๒ ๓๙๑ ๕๙๓ ๑๐ -ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๓๖ ๖๙๘ ๘๓๔ ๑๐ รวมจำนวน ๓๖๖ ๑,๑๔๒ ๑,๕๐๘ ๑๐ การศึกษาต่อเนื่อง:การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต โครงการกศน.ร่วมใจรู้ทันภัยยาเสพติด ๕ ๑๐ ๑๕ ๑ โครงการครอบครัวอุ่นใจลูกหลานไทยห่างไกลยาเสพติด ๘ ๗ ๑๕ ๑ โครงการส่งเสริมความรู้ประชาธิปไตยในชุมชน ๒๐ ๓๐ ๕๐ ๑ โครงการผู้สูงอายุออกกำลังกาย ๖ ๙ ๑๕ ๑ โครงการนันทนาการศิลปะประดิษฐ์สำหรับผู้สูงอายุ ๓ ๑๗ ๒๐ ๑ โครงการกศน.ใส่ใจห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ - ๑๕ ๑๕ ๑ โครงการให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพและการออกกำลังกายผู้สูงอายุ ๗ ๘ ๑๕ ๑ โครการทำบายสีด้วยใบตองสด - ๒๐ ๒๐ ๑ โครงการคนไทยหัวใจรีไซเคิล ๕ ๑๐ ๑๕ ๑ โครงการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและวิธีป้องกันโรค ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๑ รวม ๖๔ ๑๓๖ ๒๐๐ ๑๐ หลักสูตร/ประเภท จำนวนผู้เรียน รวม จำนวนผู้สอน ชาย หญิง การศึกษาต่อเนื่อง:กิจกรรมกลุ่มสนใจ(ทักษะชีวิตไม่เกิน ๓๐ ชั่วโมง วิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น “การทำกล้วยพันเกลียว” - ๑๐ ๑๐ ๑ วิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น “การทำขนมดอกจอกและการทำขนมปังหน้าหมู” - ๑๐ ๑๐ ๑ วิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น “การปลูกผักปลอดสารพิษ” ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๑ วิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น “การทำแหนมคลุก” - ๑๐ ๑๐ ๑ วิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น “การจัดและตกแต่งสวนหย่อม” ๕ ๕ ๑๐ ๑ รวม ๑๕ ๔๕ ๖๐ ๕ การศึกษาต่อเนื่อง:โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน:หลักสูตรพัฒนาอาชีพ(ต่อยอดอาชีพเดิม) โครงการ การทำกรอบรูปวิทยาศาสตร์ ๔ ๑๖ ๒๐ ๑ โครงการ การทำเฟอร์นิเจอร์จากไม้ไผ่ ๑๗ ๓ ๒๐ ๑ โครงการ การทำอาหารขนมวุ้นแฟนซี ๒ ๑๘ ๒๐ ๑ โครงการ การนวดแผนไทย - ๑๕ ๑๕ ๑ โครงการ การนวดแผนไทย - ๑๕ ๑๕ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างก่อสร้าง” ๑๘ ๒ ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างเชื่อม” ๒๐ - ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างก่อสร้าง” ๑๒ ๓ ๑๕ ๑ รวม ๗๓ ๗๒ ๑๔๕ ๘ หลักสูตร/ประเภท จำนวนผู้เรียน รวม จำนวนผู้สอน ชาย หญิง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างปูน” ๑๓ ๒ ๑๕ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน วิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น๔๐ ชั่วโมง“หลักสูตรช่างปูน” ๒๐ - ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรการเพาะเห็ด ขอนขาว” ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างปูน” ๒๐ - ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรการนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ” ๒ ๑๘ ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างปูกระเบื้อง” ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรการนวดแผนไทย” ๓ ๑๗ ๒๐ ๑ การศึกษาต่อเนื่อง:โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน:หลักสูตรช่างพื้นฐาน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรการปูกระเบื้อง” ๑๕ - ๑๕ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรการทำฝ้าเพดาน” ๑๕ - ๑๕ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างไฟฟ้า” ๒๐ - ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างเชื่อม” ๒๐ - ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างเชื่อม” ๒๐ - ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างทำฝ้าเพดาน” ๑๖ ๔ ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรการทำเหล็กดัด” ๑๕ ๕ ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างเชื่อม” ๑๕ - ๑๕ ๑ รวม ๒๑๔ ๖๖ ๒๘๐ ๑๕ หลักสูตร/ประเภท จำนวนผู้เรียน รวม จำนวนผู้สอน ชาย หญิง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างไฟฟ้า” ๑๕ - ๑๕ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างปูกระเบื้อง” ๒๐ - ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างเชื่อม” ๒๐ - ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างเชื่อม” ๒๐ - ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างเชื่อม” ๑๗ ๓ ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างปูกระเบื้อง” ๒๐ - ๒๐ ๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน “หลักสูตรช่างไฟฟ้า” ๑๓ ๒ ๑๕ ๑ รวม ๑๒๕ ๕ ๑๓๐ ๗ งานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ๓๕ ๖๕ ๑๐๐ ๑ รวม ๓๕ ๖๕ ๑๐๐ ๑ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยกระบวนการบัญชีครัวเรือน กศน.อำเภอแก้งสนามนาง ๑๕ ๒๕ ๔๐ ๑ โครงการอบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือนโดยใช้โปรแกรม “Smart Acc”ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กศน.อำเภอแก้งสนามนาง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ๒๐ ๕๘ ๗๘ ๑ โครงการหมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท กศน.อำเภอ แก้งสนามนาง ๕๑ ๕ ๕๖ ๑ โครงการหมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท กศน.อำเภอ แก้งสนามนาง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ๔๖ ๑๐ ๕๖ ๑ รวม ๑๓๒ ๙๘ ๒๓๐ ๔ หลักสูตร/ประเภท จำนวนผู้เรียน รวม จำนวนผู้สอน การศึกษาตามอัธยาศัย โครงการส่งเสริมการอ่านสำหรับเด็กปฐมวัย ๑๓๔ ๑๖๖ ๓๐๐ ๑ โครงการวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๙ ๖๔ ๑๐๘ ๑๗๒ ๑ โครงการ 2 เมษา รักการอ่าน สานปัญญา เพื่อพัฒนาคนสู่อาเซียน ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย ๔๐ ๖๐ ๑๐๐ ๑ โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ สู่ชุมชนรักการอ่าน ๑๒๐ ๗๖ ๑๙๖ ๑ โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ประจำปี ๒๕๕๙ ๑๗๖ ๓๕๖ ๕๓๒ ๑ รวม ๕๓๔ ๗๖๖ ๗๖๘ ข้อมูลบุคลากร จำแนกตามคุณวุฒิ ที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง วุฒิการศึกษา ๑ นายคมพิสิษฐ์ ดังไธสงฆ์ ผอ.กศน.อ.แก้งสนามนาง กศ.ม.การบริหารการศึกษา ๒ นางสาวธัญพัฒน์ อ่อนตา ครูผู้ช่วย ศิลปศาสตรบัณฑิต (สหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น) ๓ นางสาวธนัชชา ควงขุนทด ครูอาสาสมัคร กศน. คบ.ชีววิทยา ๔ นางรัชนีวรรณ สกุลจร ครู กศน.ตำบล ศศ.บ.การจัดการทั่วไป ป.บัณฑิตวิชาชีพครู ๕ นางเพ็ญศิริ ทิพโชติ ครู กศน.ตำบล ศศ.บ.การจัดการตลาด ป.บัณฑิตวิชาชีพครู ๖ นางสาวสุเนตรา ศรีภู ครู กศน.ตำบล บธ.บ.การตลาด ป.บัณฑิตวิชาชีพครู ๗ นางสาวณัทชุดา ใจเย็น ครู กศน.ตำบล บริหารธุรกิจ(การตลาด) ๘ นางสาวไพรินทร์ อ่อนสา ครู กศน.ตำบล บธ.บ.การจัดการอุตสาหกรรม ๙ นายเจตนิพันธิ์ ขวัญสวัสดิ์ ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน วท.บ.ออกแบบอุตสาหกรรม ๑๐ นางสาวณัฐกานต์ ตลับกลาง ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน ศศ.บ.นิเทศศาสตร์ ป.บัณฑิตวิชาชีพครู ๑๑ นางไมล์ตรี ศรีสุวรรณภูมิ ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน บธบ.การบัญชี ๑๒ นางสาวเกษฎา คุณเสส ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน บธ.บ.การตลาด ๑๓ นางนิติยา ผ่านภูเขียว บรรณารักษ์ บธบ.คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ๑๔ นายกิติศักดิ์ ชาติเผือก บรรณารักษ์ ศศบ.รัฐประศาสนศาสตร์ จำนวนบุคลากร จำแนกตามระดับการศึกษา ประเภท/ตำแหน่ง จำนวน ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวมจำนวน ผู้บริหารสถานศึกษา ๑ ๑ ข้าราชการครู ๑ ๑ พนักงานราชการ ครูอาสาสมัคร กศน. ๑ ๑ พนักงานราชการ ครู กศน.ตำบล ๕ ๕ ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน ๔ ๔ บรรณารักษ์อัตราจ้าง ๒ ๒ รวมจำนวน ๑๒ ๒ ๑๔ กศน.ตำบล ชื่อ กศน.ตำบล ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ กศน.ตำบลแก้งสนามนาง อาคาร อบต.แก้งสนามนาง หมู่ที่ ๒ บ้านโนนรัง ตำบลแก้งสนามนาง อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา นางรัชนีวรรณ สกุลจร กศน.ตำบลบึงพะไล หมู่ที่ ๑๓ บ้านหนองโคบาลเหนือ ตำบลบึงพะไล อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา นางเพ็ญศิริ ทิพโชติ กศน.ตำบลบึงสำโรง ศาลาวัดบ้านโนนสะอาด หมู่ที่ ๒ บ้านโนนสะอาด ตำบลบึงสำโรง อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา นางสาวสุเนตรา ศรีภู กศน.ตำบลสีสุก วัดดอนไผ่ หมู่ที่ ๕ บ้านดอนไผ่ ตำบลสีสุก อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา นางสาวณัทชุดา ใจเย็น กศน.ตำบลโนนสำราญ อบต.โนนสำราญ หมู่ที่ ๕ ตำบล โนนสำราญ อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา นางสาวไพรินทร์ อ่อนสา ศูนย์การเรียนชุมชน ศูนย์การเรียนชุมชนวัดบ้านหนองขามนาดี อาคารห้องสมุดวัดบ้านหนองขามนาดี หมู่ที่ ๕ ตำบลแก้งสนามนาง อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา นางไมล์ตรี ศรีสุวรรณภูมิ ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองเต่าพัฒนา ศาลาประชาคม หมู่ที่ ๑๕ ตำบล บึงพะไล อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา นางสาวเกษฎา คุณเสส ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านนาแค ศาลาประชาคม หมู่ที่ ๗ ตำบล โนนสำราญ อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา นายเจตนิพัทธิ์ ขวัญสวัสดิ์ ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านหนองปรือใหม่ ศูนย์สาธิตการตลาด หมู่ที่ ๙ ตำบลบึงสำโรง อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา นางสาวณัฐกานต์ ตลับกาง แหล่งเรียนรู้ ชื่อแหล่งเรียนรู้ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตั้ง ป่าดอกจาน การอนุรักษ์ธรรมชาติ บ้านแก้งสนามนาง ตำบลโนนสำราญ ศูนย์ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเพาะเห็ดขอนขาว บ้านดอนไผ่ ม.๕ ตำบลสีสุก กลุ่มศูนย์พัฒนาอาชีพ การทำผ้าห่ม,การทำขนมไทย,การทอเสื่อ,การทอผ้าไหม,ทำน้ำยา ล้างจาน บ้านดอนไผ่ ม.๕ ตำบลสีสุก นายคำใส เพียนอก การทำปุ๋ยชีวภาพ ๑๐๖ หมู่ ๕ บ้านดอนไผ่ ต.สีสุก นายสนอง วงษาลี การเลี้ยงเป็ด ๑๖ หมู่ ๕ บ้านดอนไผ่ ต.สีสุก นายเจริญ ประเสริฐวงษา การเลี้ยงกบ/การเลี้ยงปลาดุก ๑๒๔ หมู่ ๕ บ้านดอนไผ่ ต.สีสุก ศูนย์ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเลี้ยงกบ บ้านโนนรัง ม.๒ ตำบลแก้งสนามนาง ศูนย์ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเลี้ยงจิ้งหรีด บ้านแก่งขาม ม.๙ ตำบล แก้งสนามนาง กลุ่มสมุนไพรน้ำยาย่านางบ้านศูนย์กลาง สมุนไพรน้ำย่านาง บ้านศูนย์กลาง หมู่ ๑ ตำบล แก้งสนามนาง กลุ่มจักรสานบ้านแก่งโก การจักรสาน บ้านหนองเม็กน้อย หมู่ ๑๐ ตำบล แก้งสนามนาง กลุ่มเลี้ยงจิ้งหรีดบ้านหนองขามนาดี การเลี้ยงจิ้งหรีด บ้านหนองขามนาดี หมู่ ๕ ตำบล แก้งสนามนาง กลุ่มการทำกรอบพระบ้านแก่งโก การทำกรอบพระ บ้านแก่งโก หมู่ ๓ ตำบล แก้งสนามนาง ภาคีเครือข่าย ภาคีเครือข่าย ประเภทภาคีเครือข่าย ที่อยู่/ที่ตั้ง โรงงานน้ำตาลราชสีมา จำกัด เอกชน/บริษัท/โรงงาน อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ที่ว่าการอำเภอแก้งสนามนาง หน่วยงานราชการ ตำบลแก้งสนามนาง อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอแก้งสนามนาง หน่วยงานราชการ ตำบลแก้งสนามนาง อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแก้งสนามนาง หน่วยงานราชการ ตำบลแก้งสนามนาง อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา องค์การบริหารส่วนตำบลแก้งสนามนาง ราชการส่วนท้องถิ่น ตำบลแก้งสนามนาง อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา องค์การบริหารส่วนตำบลบึงพะไล ราชการส่วนท้องถิ่น ตำบลบึงพะไล อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา องค์การบริหารส่วนตำบลโนนสำราญ ราชการส่วนท้องถิ่น ตำบลโนนสำราญ อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา องค์การบริหารส่วนตำบลสีสุก ราชการส่วนท้องถิ่น ตำบลสีสุก อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา เทศบาลตำบลบึงสำโรง ราชการส่วนท้องถิ่น เทศบาลตำบลบึงสำโรง อ.แก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา สถานีตำรวจภูธรแก้งสนามนาง หน่วยงานราชการ อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา วัดบ้านโนนสะอาด ตำบลบึงสำโรง วัด/สำนักสงฆ์ ตำบลบึงสำโรง อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา วัดแก่งขาม ตำบลแก้งสนามนาง วัด/สำนักสงฆ์ ตำบลแก้งสนามนาง อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา วัดดอนไผ่ ตำบลสีสุก วัด/สำนักสงฆ์ ตำบลสีสุก อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา วัดหนองโคบาล ตำบลบึงพะไล วัด/สำนักสงฆ์ บ้านหนองโคบาลเหนือ ตำบลบึงพะไล อำเภอแก้งสนามนาง เกียรติยศ ชื่อเสียง ผลงาน/และโครงการ/กิจกรรม ดีเด่นของสถานศึกษา ที่ โครงการ/กิจกรรม ๑ โครงการต้นแบบกศน.หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง(บ้านหนองโน หมู่ ๓ ตำบลบึงสำโรง อำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ๒ โครงการเล่านิทานชวนคิด(กิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้กับเด็กปฐมวัยในโรงเรียน) ๓ โครงการการประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุรีไซเคิล(การทำตะกร้าจากเศษวัสดุกระป๋องเบียร์) ๔ โครงการส่งเสริมการอ่านผู้ไม่รู้หนังสือ ผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกที่ผ่านมา ๑.ผลการประเมินคุณภาพภายใน ๑) ผลการประเมินคุณภาพภายใน โดยภาพรวมของสถานศึกษา (๑) ผลการประเมินตนเอง มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๓๕ ๒๙.๒๐ ดี มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๒๕ ๒๑.๑๐ ดี มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา ๑๐ ๙ ดี มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ๑๐ ๘.๒๐ ดี มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๑๐ ๘.๔๐ ดี มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม ๑๐ ๘.๔๐ ดี รวมคะแนนโดยภาพรวมของสถานศึกษา ๑๐๐ ๘๔.๓๐ ดี (๒) การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๓๕ ๒๙.๐๐ ดี มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๒๕ ๒๓.๙๙ ดีมาก มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา ๑๐ ๙.๖ ดีมาก มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ๑๐ ๘.๖๔ ดี มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๑๐ ๙.๐๕ ดี มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม ๑๐ ๙.๑๒ ดีมาก รวมคะแนนโดยภาพรวมของสถานศึกษา ๑๐๐ ๘๙.๔๐ ดี ๒) ผลการประเมินคุณภาพภายในตามรายมาตรฐาน (ผลการประเมินตนเอง) มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๓๕ ๒๙.๒๐ ดีมาก ๒๙.๐๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๓ ๓ ดีมาก ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๓ ๓ ดีมาก ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๓ ๓ ดีมาก ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียน คิดเป็นทาเป็น ๓ ๓ ดีมาก ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๑๐ ๖ พอใช้ ๖ พอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ๕ ๔.๑๐ ดี ๔ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑. ๗ ผู้เรียนมีงานทาหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๕ ๔.๑๐ ดี ๔ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๘ ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ๓ ๓ ดีมาก ๓ ดีมาก มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๒๕ ๒๑.๑๐ ดี ๒๓.๙๙ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพของหลักสูตร ๔ ๓ ดี ๔ ดีมาก มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของครู ๔ ๓ ดี ๔ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๔ ๓ ดี ๓.๖๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพผู้สอน/วิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง ๓ ๓ ดีมาก ๒.๖๙ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ คุณภาพสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้รับบริการ ๓ ๓ ดีมาก ๒.๗๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๔ ๓.๑๐ ดีมาก ๔ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๓ ๓ ดีมาก ๓ ดีมาก มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา ๑๐ ๙ ดีมาก ๙.๖ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก ๒ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ๒ ๑.๕๐ ดี ๑.๘๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ ผลการบริหารความเสี่ยง ๒ ๑.๕๐ ดี ๑.๘๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก ๒ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๕ ผลการปฏิบัติตามบทบาทของกรรมการสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก ๒ ดีมาก มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ๑๐ ๘.๒๐ ดี ๘.๖๔ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๕ ๔.๑๐ ดี ๔.๖๔ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๒ การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ๕ ๔.๑๐ ดี ๔ ดี มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๑๐ ๘.๔๐ ดี ๙.๐๕ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑ ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา ๕ ๔.๒๐ ดี ๔.๓๕ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อนเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๕ ๔.๒๐ ดี ๔.๗๐ ดีมาก มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม ๑๐ ๘.๔๐ ดี ๙.๑๒ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ทางศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ๕ ๔.๒๐ ดี ๔.๕๕ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๒ ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน ๕ ๔.๒๐ ดี ๔.๕๗ ดีมาก รวม ๑๐๐ ๘๔.๓๐ ดี ๘๙.๔๐ ดี หมายเหตุ กรณีที่สถานศึกษาใดที่ยังไม่มีผลคะแนนการประเมินสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ที่ตรงกับมาตรฐาน และตัวบ่งชี้ดังกล่าว ให้เว้นไว้ และใส่เพียงคะแนนผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินคุณภาพภายในตามรายมาตรฐาน(ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด) มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุง ควรปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๒๙.๐๐  ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๓  ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๓  ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๓  ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียน คิดเป็นทาเป็น ๓  ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๖  ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ๔  ตัวบ่งชี้ที่ ๑. ๗ ผู้เรียนมีงานทาหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๔  ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๘ ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ๓  มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๒๓.๙๙  ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพของหลักสูตร ๔  ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของครู ๔  มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุง ควรปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๓.๖๐  ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพผู้สอน/วิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง ๒.๖๙  ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ คุณภาพสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้รับบริการ ๒.๗๐  ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๔  ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๓  มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา ๙.๖  ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา ๒  ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ๑.๘๐  ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ ผลการบริหารความเสี่ยง ๑.๘๐  ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ๒  ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๕ ผลการปฏิบัติตามบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา ๒  มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ๘.๖๔  ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๔.๖๔  ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๒ การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ๔  มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุง ควรปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๙.๐๕  ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑ ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา ๔.๓๕  ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อนเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๔.๗๐  มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม ๙.๑๒  ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ทางศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ๔.๕๕  ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๒ ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน ๔.๕๗  ภาพรวมสถานศึกษา ๘๙.๔๐  ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ข้อเสนอแนะจากการประเมินตนเอง ข้อเสนอแนะจากการประเมินสถานศึกษาโดยต้นสังกัด การจัดเก็บเอกสาร สรุปผลการดำเนินงาน และการจัดทำระบบฐานข้อมูล ยังไม่เป็นปัจจุบัน ๑.สนับสนุนการพัฒนา กศน.ตำบลให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ๒.สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม และการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ๓.ส่งเสริมให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียนทุกภาคเรียนเพื่อนำผลและแนวทางมาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาให้มีประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอนต่อไป ๔.ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับพัฒนาเพิ่มศักยภาพอย่างต่อเนื่อง ๕.ส่งเสริมให้ครูใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๖.ส่งเสริมให้ประชาชนเป็นผู้มีนิสัยรักการอ่าน ร่วมกันสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๗.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรภาคีเครือข่าย ชุมชน ในการร่วมมือวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มากยิ่งขึ้น ผลการประเมินคุณภาพภายนอก • สถานศึกษายังไม่เคยได้รับการประเมินจากภายนอก  สถานศึกษาได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก ระหว่างวันที่ ๑๔-๑๖ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๘ โดยสถานศึกษาได้คะแนนจากผลการประเมินภายนอก รวม ๘๐.๘๓ คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ระดับดี ซึ่งสถานศึกษา • ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา  ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา ข้อเสนอแนะ ๑. ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงขึ้นให้สามารถจบการศึกษาได้ตามกำหนดและมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาวิเคราะห์สาเหตุจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ชุมชน ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร ถึงสาเหตุที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำและการจบหลักสูตรไม่เป็นไปตามที่กำหนด และร่วมกำหนดรูปแบบวิธีการ พร้อมนำสู่การปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะพัฒนาปรับปรุงระหว่างการเรียนอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการสอนเสริม สอบซ่อมอย่างเป็นระบบเน้นการพัฒนาก่อนการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน ๒. ครูควรได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะวิชาหลัก ด้วยการจัดอบรมสัมมนา ศึกษาดูงานให้ตรงตามสภาพปัญหา พัฒนาใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างทั่วถึง ๓. สถานศึกษาพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครบถ้วนทันต่อการใช้งานและนำไปสู่การปรับปรุงและตัดสินใจ อย่างถูกต้อง พัฒนาวิธีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเน้นการประเมินตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตร พร้อมทั้งนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต ผู้บริหาร องค์กรท้องถิ่นและภูมิปัญญาท้องถิ่น เห็นความสำคัญและมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาประชาชนในท้องถิ่นทางด้านทักษะอาชีพ สถนศึกษาจึงควรส่งเสริมสนับสนุนการอาชีพในชุมชนให้มีความเข้มแข็งยั่งยืน เช่น กลุ่มทอผ้าไหม กลุ่มทอสื่อกก กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ โดยการประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมการตลาด ส่งเสริมความรู้ทักษะความชำนาญให้เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค บทที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สถานศึกษาได้กำหนดทิศทางการดำเนินงานไว้ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๘ โดยได้ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี และมีผลการดาเนินการ ดังนี้ ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา ปรัชญา เป็นคนดี มีคุณธรรม ดำเนินชีวิตบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง วิสัยทัศน์ (Vision) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง จัดการศึกษาให้ผู้เรียน ผู้รับบริการ มีความรู้ตามมาตรฐานและมีอาชีพเพื่อการมีงานทำโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อัตลักษณ์ “อยู่อย่างพอเพียง” เอกลักษณ์ “สถานศึกษาส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง” พันธกิจ (Mission) ๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตให้มีคุณภาพ ๒. จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำที่สามารถสร้างอาชีพสร้างรายได้ ๓. พัฒนาบุคลากรและระบบบริหารให้สามารถดำเนินการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพตามมาตรฐาน ๔. จัดและส่งเสริมให้ประชาชนดำเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๕. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต และการศึกษาเพื่อการมีงานทำ เป้าประสงค์ และตัวชี้วัดความสำเร็จ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ๑. ประชาชนได้รับโอกาสทางการศึกษาตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ร้อยละของประชากรอำเภอแก้งสนามนางกลุ่มต่างๆได้รับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ๑.๑ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ๑) ผู้ด้อยโอกาส ๒) ผู้พิการหรือทุพพลภาพ ๓) ผู้สูงอายุ ๔) ประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ ๑.๒ การพัฒนาความสามารถในเชิงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ๑) ผู้อยู่ในวัยแรงงานที่อยู่นอกระบบ ๒) ผู้อยู่ในวัยแรงงานที่อยู่ในระบบ ๒. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพและมาตรฐาน -ร้อยละของประชาชนวัยแรงงานที่เข้ารับบริการการศึกษาเพื่อการมีงานทำมีสมรรถนะในการประกอบอาชีพที่มั่นคงและเพิ่มขึ้น ๓. ประชาชนมีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นประชาธิปไตย และมีทักษะในการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละของประชาชนที่ได้รับบริการ มีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นประชาธิปไตย และมีทักษะในการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔. ประชาชนสามารถดำรงชีวิตได้ในกระแสโลกปัจจุบัน อนาคต และสอดคล้องกับประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามของชุมชนและของชาติ ร้อยละของประชาชนผู้รับบริการสามารถดำรงชีวิตได้ในกระแสโลกปัจจุบัน อนาคต และสอดคล้องกับประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามของชุมชนและของชาติ ๕. บุคลากรที่ได้รับการพัฒนาสมรรถนะในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ร้อยละของบุคลากรได้รับการพัฒนาสมรรถนะในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๖. บุคลากร ภาคีเครือข่ายมีศักยภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ร้อยละของบุคลากรและภาคีเครือข่ายมีศักยภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ ๑ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายและทั่วถึง กลยุทธ์ที่ ๒ ผนึกกำลังภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วม กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาแหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญาให้เป็นฐานความรู้ของชุมชน กลยุทธ์ที่ ๔ ปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย กลยุทธ์ที่ ๕ จัดระบบบริหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ตัวชี้วัดความสำเร็จ เกณฑ์ ความสำเร็จ (ร้อยละ) ๑. ประชาชนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม กลยุทธ์ที่ ๑ ๑. จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง -โครงการจัดการศึกษานอกระบบหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๑. ประชาชนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สูงขึ้น ๒.ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ร้อยละ ๘๐ ร้อยละ ๘๐ -โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ ๘๕ คน - ประชาชนอ่านออกเขียนได้ ๒. ประชาชนได้รับการการศึกษาต่อเนื่องที่สอดคล้อง ตรงกับความต้องการของตนเอง ชุมชน สังคม กลยุทธ์ที่ ๒ จัดและส่งเสริมให้ประชาชนได้เรียนวิชาชีพเพื่อการมีงานทำ -โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชมเพื่อการมีงานทำ ๒๙๗ คน ๑.ผู้เรียนผ่านการประเมินผลการเรียนตามหลักเกณฑ์ ๒.ผู้เรียนนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน ร้อยละ ๑๐๐ ร้อยละ ๘๐ -โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๕๘๐ คน ร้อยละ ๑๐๐ ๓. เครือข่ายมีส่วนร่วมสนับสนุนส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาเพื่อการมีงานทำกว้างขวาง กลยุทธ์ที่ ๓ ผนึกกำลังภาคีเครือข่ายและกระจายบริการการศึกษา โครงการส่งเสริมการอ่าน ๑,๓๐๐ คน ๑.ภาคีเครือข่ายร่วมสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ๒.สื่อและกิจกรรตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ ร้อยละ ๘๐ ร้อยละ ๘๐ โครงการพัฒนา กศน.ตำบล ๕ แห่ง ๑.การบริหารจัดการและการจัดกิจกรรมบรรลุเป้าหมายตาม แผนงาน พึงพอใจ ร้อยละ ๘๐ โครงการพัฒนาภาคีเครือข่าย แห่ง ๑.เครือข่ายร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัย ๒. เครือข่ายร่วมสนับสนุนส่งเสริม การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ร้อยละ ๘๐ ร้อยละ ๘๐ โครงการจัดการ ศึกษาตามอัธยาศัย ๑๓ แห่ง ๑.แหล่งเรียนรู้ กศน. มีการจัดบริการข่าวสารข้อมูล ที่ทันเหตุการณ์ ร้อยละ ๗๐ ๔.ประสิทธิภาพบุคลากรและการบริหารจัดการให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงาน กลยุทธ์ที่ ๔พัฒนาระบบการบริหารและจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ โครงการพัฒนา บุคลากร ๑๔ ๑.บุคลากรได้รับการพัฒนาตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ๒.บุคลากรมีความรู้ในการปฏิบัติงานและมีคุณธรรมจริยธรรม ร้อยละ ๙๐ ร้อยละ ๘๐ โครงการประกัน คุณภาพการศึกษา ๑๔ ๑.บุคลากรสามารถตรวจสอบและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๒. สถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพทุกปี ร้อยละ ๙๐ ร้อยละ ๑๐๐ โครงการนิเทศ ติดตามประเมินผล และรายงานผลการปฏิบัติงาน ๖๐ ครั้ง ๑.มีการกำหนดมาตรฐาน จัดทำแผนการนิเทศ ๒.มีการนิเทศ รายงานผลการนิเทศ ร้อยละ ๑๐๐ โครงการพัฒนาสถานศึกษา ๑ ๑. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีแผนพัฒนาการศึกษาและรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี ๒. ผลการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติการประจำปี ร้อยละ ๑๐๐ ๕.พัฒนาสื่อหลักสูตร กิจกรรมและนำเทคโนโลยีสมัย ใหม่มาใช้ในการ จัดและบริการทางการศึกษา กลยุทธ์ที่ ๔พัฒนาระบบการบริหารและจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ โครงการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน ๑.จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ ๒.นักศึกษามีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ ร้อยละ๘๐ ร้อยละ ๘๐ โครงการแนะแนวการศึกษา ๑๒ ๑.ครู กศน. มีการแนะแนวการศึกษา ๒.แหล่งเรียนรู้ กศน. มีการจัดกิจกรรมแนะแนวการศึกษา ร้อยละ ๙๐ ร้อยละ ๙๐ โครงการพัฒนาหลักสูตร สื่อ และกิจกรรมการเรียนการสอน ๑ ๑.ครูมีการทำวิจัย ศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ๒.นักศึกษาได้รับบริการด้านสื่อ และเทคโนโลยีทางการศึกษา ร้อยละ ๙๐ แผนปฏิบัติการประจำปี โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ ๑. โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ -เพื่อให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้ -เพื่อให้เกิดการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ในทุกๆด้านดีขึ้น ๗๐ คน ต.แก้งสนามนาง ต.บึงพะไล ต.บึงสำโรง ต.โนนสำราญ ต.สีสุ ต.สีสุก ต.ค. ๕๘ ถึง ก.ย. ๕๙ ๒๓,๙๒๕ ๒. โครงการยกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน -เพื่อยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนวัยแรงงานให้สามารถพัฒนาตนเองและเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง -ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการศึกษาต่อและพัฒนางานในหน้าที่ ๑,๕๐๘ คน ต.แก้งสนามนาง ต.บึงพะไล ต.บึงสำโรง ต.โนนสำราญ ต.สีสุ ต.ค. ๕๘ ถึง ก.ย. ๕๙ ๑,๔๙๑,๓๓๒ ๓. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนเพื่อการมีงานทำ -เพื่อให้ประชาชนได้นำความรู้ด้านอาชีพมาใช้ครอบครัวและชีวิตประจำวันได้ -เพื่อให้ประชาชนมีรายได้และช่วยลดรายจ่ายของตนเองและครอบครัวได้ ๓๓๐ ต.แก้งสนามนาง ต.บึงพะไล ต.บึงสำโรง ต.โนนสำราญ ต.สีสุ ต.สีสุก ต.ค. ๕๘ ถึง ก.ย. ๕๙ ๒๙๗,๐๐๐ ๔. โครงการกำกับนิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย -เพื่อสร้างกลไกลการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย -เพื่อพัฒนานวัต กรรมการบริหารจัดการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับนโยบายในการจัดการศึกษานอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๕ ตำบล ต.แก้งสนามนาง ต.บึงพะไล ต.บึงสำโรง ต.โนนสำราญ ต.สีสุก ต.ค. ๕๘ ถึง ก.ย. ๕๙ ๑๐,๐๐๐ ๕.โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการมีความรู้และสามารถดำรงชีวิตตนเองและครอบครัวได้อย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๕ แห่ง ครู ๑๔ คน ต.แก้งสนามนาง ต.บึงพะไล ต.บึงสำโรง ต.โนนสำราญ ต.สีสุก ๒๕,๐๐๐ ๖.โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิต -เพื่อพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน -เพื่อให้ห้องสมุดประชาชนเป็นแหล่งค้นคว้าและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทำ และการสร้างโอกาสความพร้อมให้กับประชาชนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ๑,๓๐๐ ห้องสมุดเฉลิมราชกุมารีอำเภอแก้งสนามนาง ต.ค. ๕๘ ถึง ก.ย. ๕๙ ๔๑๓,๒๓๒ ๗.โครงการพัฒนา กศน.ตำบลให้เป็นศูนย์กลางการสร้างโอกาสและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้กับประชาชน -เพื่อพัฒนา กศน.ตำบลให้เป็นศูนย์กลางการสร้างโอกาสและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้กับประชาชนในชุมชน -เพื่อส่งเสริมให้กศน.ตำบลจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตเชิงรุกที่หลากหลาย ทันสมัยสร้างสรรค์ ต่อเนื่อง และสนองความต้องการของประชาชนในชุมชน ๕ แห่ง ต.แก้งสนามนาง ต.บึงพะไล ต.บึงสำโรง ต.โนนสำราญ ต.สีสุก ต.ค. ๕๘ ถึง ก.ย. ๕๙ ๘๐,๔๗๐ ๘.โครงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย -เพื่อพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ -เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ ๑ กศน.อำเภอ แก้งสนามนาง ต.ค. ๕๘ ถึง ก.ย. ๕๙ - ๙.โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานและมีความสามารถที่ดีในการบริหารจัดการการดำเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพและเป็นมืออาชีพ ๑ กศน.อำเภอ แก้งสนามนาง ต.ค. ๕๘ ถึง ก.ย. ๕๙ - มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๓๕ ๒๙.๒๐ ดี มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๒๕ ๒๑.๑๐ ดี มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา ๑๐ ๙ ดี มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ๑๐ ๘.๒๐ ดี มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๑๐ ๘.๒๐ ดี มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม ๑๐ ๘.๒๐ ดี รวมคะแนนโดยภาพรวม ๑๐๐ ๘๓.๙๐ ดี เป้าหมายความสำเร็จตามรายมาตรฐาน ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา ผลการดาเนินงานของสถานศึกษาในรอบ ๓ ปีที่ผ่านมา และปีที่ประเมินตนเอง ดังนี้ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕๕๖ งบประมาณ ๒๕๕๗ งบประมาณ ๒๕๕๘ เป้าหมาย ผลผลิต เป้าหมาย ผลผลิต เป้าหมาย ผลผลิต ๑. การส่งเสริมผู้ไม่รู้หนังสือ ๔๓ ๕๕ ๓๕ ๓๕ ๓๕ ๓๕ ๒.การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๒.๑ ระดับประถมศึกษา ๒.๒ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๒.๓ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๕๐ ๔๕๐ ๕๕๐ ๑๕๐ ๓๙๑ ๕๖๔ ๑๕๐ ๓๙๑ ๕๖๔ ๕๐ ๓๙๓ ๕๐๘ ๕๐ ๓๙๓ ๕๐๘ ๓. การจัดการศึกษาต่อเนื่อง ๓.๑ การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ๓.๒ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ๓.๓ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ๓.๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๕ โครงการพระราชดำริ(ทักษะอาชีพ) ๓.๖ โครงการพระราชดำริ(ทักษะชีวิต) ๓.๗ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนเพื่อการมีงานทำ (๑) ๓.๘ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนเพื่อการมีงานทำ (๒) ๓.๙ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนเพื่อการมีงานทำ (๓) ๑๙๔ ๓๙๘ ๔,๑๘๗ ๓๐๐ ๒๓๘ ๒๗๘ ๔๔๔ ๒๓๕ ๔๕๐ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ๒๕๕๖ งบประมาณ ๒๕๕๗ งบประมาณ ๒๕๕๘ เป้าหมาย ผลผลิต เป้าหมาย ผลผลิต เป้าหมาย ผลผลิต ๔. โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๘๖๐ ๕. โครงการจัดการกิจกรรมผู้สูงอายุ - - - - ๖. โครงการอบรมอาสาสมัครกศน. - - - - ๗. โครงการประชุมสัมมนาคณะกรรมการสถานศึกษา ๙ ๙ - - ๘. โครงการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงาน ๕ ๕ - - ๙. งานการศึกษาตามอัธยาศัย ๑,๓๓๑ ๑,๕๘๗ ๘๖๐ สรุปผลการปรับปรุงและพัฒนาในรอบปีที่ผ่านมา จากการประเมินเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย การประเมินตนเอง การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด และผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ได้นำข้อเสนอแนะมากำหนดแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการศึกษา ดังนี้ ข้อเสนอแนะจากผลการประเมิน โครงการ/กิจกรรม ที่ปรับปรุงและพัฒนา ผลการดาเนินงาน ตนเอง ต้นสังกัด สมศ. บุคลากรจัดเก็บเอกสารไม่เป็นระบบ บุคลากรควรจัดระบบการทำงานให้เหมาะสมกับสภาพการทำงาน สถานศึกษาพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครบถ้วนทันต่อการใช้งานและนำไปสู่การปรับปรุงและตัดสินใจอย่างถูกต้อง พัฒนาวิธีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเน้นการประเมินตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของหลักสูตร พร้อมทั้งนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง โครงการพัฒนาบุคลากรในการจัดทำระบบฐานข้อมูล/การรายงาน/สารสนเทศ ดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ตรงตามตัวบ่งชี้ที่ตั้งไว้ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ สื่อการเรียนการสอนน้อยไม่เพียงพอกับจำนวนนักศึกษา ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นให้สามารถจบการศึกษาได้ตามที่กำหนดและมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ชุมชน ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร ถึงสาเหตุที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำ และการจบหลักสูตรไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด และร่วมกันกำหนดรูปแบบวิธีการ พร้อมนำไปสู่การปฏิบัติ มีการนิเทศติดตามผลเป็นระยะพัฒนาปรับปรุงระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการสอนเสริม สอบซ่อมอย่างเป็นระบบเน้นการพัฒนาก่อนการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน โครงการสอนเสริม บทที่ ๓ ผลการประเมินตนเอง สถานศึกษาประเมินตนเองตามมาตรฐาน และตัวบ่งชี้ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย จำนวน ๖ มาตรฐาน ๒๖ ตัวบ่งชี้ ได้ผลการประเมิน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๒๙.๒๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียน คิดเป็นทาเป็น ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๑๐ ๖ พอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ๕ ๔.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑. ๗ ผู้เรียนมีงานทาหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๕ ๔.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๘ ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ๓ ๓ ดีมาก ผลรวมของการประเมิน ๓๕ ๒๙.๒๐ ดีมาก ผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ ได้คะแนน ๒๙.๒๐ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายาม ในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรดำเนินการให้มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน กำหนดโครงการ กิจกรรม ตัวบ่งชี้ ประเมินผล มีข้อมูลที่เป็นระบบง่ายต่อการตรวจสอบตามแผนที่วางไว้ มีระบบการนำเสนอที่ง่าย รวดเร็ว ถูกต้อง ทันต่อการใช้งาน สถานศึกษาควรกำหนดวิธีการประเมินผลการใช้หลักสูตร โดยเน้นไปที่วัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตรให้ชัดเจน สถานศึกษาควรพัฒนาครู โดยการจัดกิจกรรมการอบรมสัมมนาให้ความรู้แก่ครูผู้สอนเน้นวิชาหลักเพื่อนำความรู้ไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและส่งเสริมการใช้กระบวนการวิจัยเพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้ครอบคลุมครูทุกคน สถานศึกษาร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน วิเคราะห์หาสาเหตุทีทำให้ผู้เรียนมีผลการเรียนต่ำและจบการศึกษาไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด พร้อมร่วมกันกำหนดวิธีการแก้ปัญหา วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม มีการติดตามประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะ แก้ไขพัฒนาระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่องและวางระบบการสอบซ่อม สอนเสริมให้เกิดคุณภาพต่อการพัฒนาผู้เรียน สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๑ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๑ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๑ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนา และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ . จุดเด่น สถานศึกษาควรกำหนดวิธีการประเมินผลการใช้หลักสูตร โดยเน้นไปที่วัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตรให้ชัดเจน สถานศึกษาร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน วิเคราะห์หาสาเหตุทีทำให้ผู้เรียนมีผลการเรียนต่ำและจบการศึกษาไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด พร้อมร่วมกันกำหนดวิธีการแก้ปัญหา วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม มีการติดตามประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะ แก้ไขพัฒนาระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่องและวางระบบการสอบซ่อม สอนเสริมให้เกิดคุณภาพต่อการพัฒนาผู้เรียน จุดควรพัฒนา สถานศึกษาควรพัฒนาครู โดยการจัดกิจกรรมการอบรมสัมมนาให้ความรู้แก่ครูผู้สอนเน้นวิชาหลักเพื่อนำความรู้ไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและส่งเสริมการใช้กระบวนการวิจัยเพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้ครอบคลุมครูทุกคน ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา (เขียนวิธีการพัฒนาตัวบ่งชี้ที่ได้ผลการประเมินต่ำสุดและรองลงมา) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงขึ้นให้สามารถจบการศึกษาได้ตามกำหนด และมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ชุมชน ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร ถึงสาเหตุที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำและการจบหลักสูตรไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดและร่วมกันกำหนดรูปแบบวิธีการ พร้อมนำไปสู่การปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะพัฒนาปรับปรุงระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการสอนเสริม สอบซ่อมอย่างเป็นระบบเน้นการพัฒนาก่อนการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๒๑.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพของหลักสูตร ๔ ๓ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของครู ๔ ๓ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๔ ๓ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพผู้สอน/วิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ คุณภาพสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้รับบริการ ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๔ ๓.๑๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๓ ๓ ดีมาก ผลรวมของการประเมิน ๒๕ ๒๑.๑๐ ดี ผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ได้คะแนน ๒๑.๑๐ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรดำเนินการให้มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน กำหนดโครงการ กิจกรรม ตัวบ่งชี้ ประเมินผล มีข้อมูลที่เป็นระบบง่ายต่อการตรวจสอบตามแผนที่วางไว้ มีระบบการนำเสนอที่ง่าย รวดเร็ว ถูกต้อง ทันต่อการใช้งาน ข้อมูลความพยายาม สถานศึกษาร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน วิเคราะห์หาสาเหตุทีทำให้ผู้เรียนมีผลการเรียนต่ำและจบการศึกษาไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด พร้อมร่วมกันกำหนดวิธีการแก้ปัญหา วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม มีการติดตามประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะ แก้ไขพัฒนาระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่องและวางระบบการสอบซ่อม สอนเสริมให้เกิดคุณภาพต่อการพัฒนาผู้เรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรทำความเข้าใจกับคณะกรรมการสถานศึกษา ในการร่วม ติดตาม ประเมินผลการร่วมรับผิดชอบการทำกิจกรรมของกศน. ให้ชัดเจนถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติร่วมกัน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรส่งเสริมการจัดทำระบบสารนเทศให้ทันต่อการใช้งานอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ผ่านการตรวจสอบจากผู้รับผิดชอบ ร่วมทั้งมีส่วนร่วมในการติดตามอย่างชัดเจน สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๒ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๒ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๒ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ . จุดเด่น สถานศึกษาพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครบถ้วนทันต่อการใช้งานและนำไปสู่การปรับปรุงและตัดสินใจอย่างถูกต้อง พัฒนาวิธีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเน้นการประเมินตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของหลักสูตร พร้อมทั้งนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง จุดควรพัฒนา ครูควรได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะวิชาหลัก ด้วยการจัดอบรมสัมมนา ศึกษาดูงานให้ตรงตามสภาพปัญหา พัฒนาใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างทั่วถึง มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา ๙ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ๒ ๑.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ ผลการบริหารความเสี่ยง ๒ ๑.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๕ ผลการปฏิบัติตามบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก รวมคะแนนโดยภาพรวม ๑๐ ๙ ดีมาก ผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา ได้คะแนน ๙ อยู่ในระดับคุณภาพดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรส่งเสริมการจัดทำระบบสารนเทศให้ทันต่อการใช้งานอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ผ่านการตรวจสอบจากผู้รับผิดชอบ ร่วมทั้งมีส่วนร่วมในการติดตามอย่างชัดเจน ทบทวนการบริหารเชิงระบบ ซึ่งเป็นแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในที่ดี และจัดระเบียบวิถีการทำงานของบุคลากรให้เป็นไปตามเส้นทางบริหารเชิงคุณภาพ PDCA จะทำให้การปรันคุณภาพภายใน มีคุณภาพต่อระบบบริหารจัดการได้อย่างดีและเป็นส่วนหนึ่งของกาบริหารอย่างแท้จริง . ข้อมูลความพยายาม ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงขึ้นให้สามารถจบการศึกษาได้ตามกำหนด และมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ชุมชน ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร ถึงสาเหตุที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำและการจบหลักสูตรไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดและร่วมกันกำหนดรูปแบบวิธีการ พร้อมนำไปสู่การปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะพัฒนาปรับปรุงระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการสอนเสริม สอบซ่อมอย่างเป็นระบบเน้นการพัฒนาก่อนการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๓ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๓ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๓ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ . จุดเด่น ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงขึ้นให้สามารถจบการศึกษาได้ตามกำหนด และมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ชุมชน ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร ถึงสาเหตุที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำและการจบหลักสูตรไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดและร่วมกันกำหนดรูปแบบวิธีการ พร้อมนำไปสู่การปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะพัฒนาปรับปรุงระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการสอนเสริม สอบซ่อมอย่างเป็นระบบเน้นการพัฒนาก่อนการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน จุดควรพัฒนา สถานศึกษาควรพัฒนาครู โดยการจัดกิจกรรมการอบรมสัมมนาให้ความรู้แก่ครูผู้สอนเน้นวิชาหลักเพื่อนำความรู้ไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและส่งเสริมการใช้กระบวนการวิจัยเพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้ครอบคลุมครูทุกคน ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา (เขียนวิธีการพัฒนาตัวบ่งชี้ที่ได้ผลการประเมินต่ำสุดและรองลงมา) สถานศึกษาพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครบถ้วนทันต่อการใช้งานและนำไปสู่การปรับปรุงและตัดสินใจอย่างถูกต้อง พัฒนาวิธีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเน้นการประเมินตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของหลักสูตร พร้อมทั้งนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ๘.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๕ ๔.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๒ การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ๕ ๔ ดี รวมคะแนนโดยภาพรวม ๑๐ ๘.๒๐ ดี ผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ได้คะแนน ๘.๒๐ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรส่งเสริมให้มีการตั้งเป้าหมายของกิจกรรมครั้งต่อไป ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรทำความเข้าใจกับคณะกรรมการสถานศึกษา ในการร่วม ติดตาม ประเมินผลการร่วมรับผิดชอบการทำกิจกรรมของ กศน. ให้ชัดเจนถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติร่วมกัน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรส่งเสริมการจัดทำระบบสารนเทศให้ทันต่อการใช้งานอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ผ่านการตรวจสอบจากผู้รับผิดชอบ ร่วมทั้งมีส่วนร่วมในการติดตามอย่างชัดเจน ข้อมูลความพยายาม ทบทวนการบริหารเชิงระบบ ซึ่งเป็นแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในที่ดี และจัดระเบียบวิถีการทำงานของบุคลากรให้เป็นไปตามเส้นทางบริหารเชิงคุณภาพ PDCA จะทำให้การปรันคุณภาพภายใน มีคุณภาพต่อระบบบริหารจัดการได้อย่างดีและเป็นส่วนหนึ่งของกาบริหารอย่างแท้จริง สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๔ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๔ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๔ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ . จุดเด่น ทบทวนการบริหารเชิงระบบ ซึ่งเป็นแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในที่ดี และจัดระเบียบวิถีการทำงานของบุคลากรให้เป็นไปตามเส้นทางบริหารเชิงคุณภาพ PDCA จะทำให้การปรันคุณภาพภายใน มีคุณภาพต่อระบบบริหารจัดการได้อย่างดีและเป็นส่วนหนึ่งของกาบริหารอย่างแท้จริง จุดควรพัฒนา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรทำความเข้าใจกับคณะกรรมการสถานศึกษา ในการร่วม ติดตาม ประเมินผลการร่วมรับผิดชอบการทำกิจกรรมของกศน. ให้ชัดเจนถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติร่วมกัน มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๘.๔๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑ ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา ๕ ๔.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อนเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๕ ๔.๒๐ ดี รวมคะแนนโดยภาพรวม ๑๐ ๘.๔๐ ดี ผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ได้คะแนน ๘.๔๐ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก ทบทวนการบริหารเชิงระบบ ซึ่งเป็นแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในที่ดี และจัดระเบียบวิถีการทำงานของบุคลากรให้เป็นไปตามเส้นทางบริหารเชิงคุณภาพ PDCA จะทำให้การปรันคุณภาพภายใน มีคุณภาพต่อระบบบริหารจัดการได้อย่างดีและเป็นส่วนหนึ่งของกาบริหารอย่างแท้จริง ข้อมูลความพยายาม สถานศึกษาพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครบถ้วนทันต่อการใช้งานและนำไปสู่การปรับปรุงและตัดสินใจอย่างถูกต้อง พัฒนาวิธีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเน้นการประเมินตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของหลักสูตร พร้อมทั้งนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๕ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๕ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๕ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ . จุดเด่น ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงขึ้นให้สามารถจบการศึกษาได้ตามกำหนด และมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ชุมชน ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร ถึงสาเหตุที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำและการจบหลักสูตรไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดและร่วมกันกำหนดรูปแบบวิธีการ พร้อมนำไปสู่การปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะพัฒนาปรับปรุงระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการสอนเสริม สอบซ่อมอย่างเป็นระบบเน้นการพัฒนาก่อนการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน จุดควรพัฒนา สถานศึกษาพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครบถ้วนทันต่อการใช้งานและนำไปสู่การปรับปรุงและตัดสินใจอย่างถูกต้อง พัฒนาวิธีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเน้นการประเมินตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของหลักสูตร พร้อมทั้งนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม ๘.๔๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐานรักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายทางศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ๕ ๔.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๒ ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน ๕ ๔.๒๐ ดี รวมคะแนนโดยภาพรวม ๑๐ ๘.๔๐ ดี ผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม ได้คะแนน ๘.๔๐ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรดำเนินการให้มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน กำหนดโครงการ กิจกรรม ตัวบ่งชี้ ประเมินผล มีข้อมูลที่เป็นระบบง่ายต่อการตรวจสอบตามแผนที่วางไว้ มีระบบการนำเสนอที่ง่าย รวดเร็ว ถูกต้อง ทันต่อการใช้งาน ข้อมูลความพยายาม ทบทวนการบริหารเชิงระบบ ซึ่งเป็นแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในที่ดี และจัดระเบียบวิถีการทำงานของบุคลากรให้เป็นไปตามเส้นทางบริหารเชิงคุณภาพ PDCA จะทำให้การปรันคุณภาพภายใน มีคุณภาพต่อระบบบริหารจัดการได้อย่างดีและเป็นส่วนหนึ่งของกาบริหารอย่างแท้จริง สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๖ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๖ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสาเร็จของมาตรฐานที่ ๖ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ . ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงขึ้นให้สามารถจบการศึกษาได้ตามกำหนด และมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ชุมชน ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร ถึงสาเหตุที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำและการจบหลักสูตรไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดและร่วมกันกำหนดรูปแบบวิธีการ พร้อมนำไปสู่การปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะพัฒนา สถานศึกษาร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน วิเคราะห์หาสาเหตุทีทำให้ผู้เรียนมีผลการเรียนต่ำและจบการศึกษาไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด พร้อมร่วมกันกำหนดวิธีการแก้ปัญหา วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม มีการติดตามประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะ แก้ไขพัฒนาระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่องและวางระบบการสอบซ่อม สอนเสริมให้เกิดคุณภาพต่อการพัฒนาผู้เรียน บทที่ ๔ การสรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา การสรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา การสรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปผลได้เป็น ๒ ส่วน คือ ๑) สรุปผลการประเมินตนเองในภาพรวมของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ สถานศึกษากำหนดเป้าหมายความสำเร็จโดยภาพรวมของสถานศึกษา ไว้ที่ระดับคุณภาพดี ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๑-๖ ไว้ดังนี้ มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๓๕ ๒๙.๒๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียน คิดเป็นทาเป็น ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๑๐ ๖ พอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ๕ ๔.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑. ๗ ผู้เรียนมีงานทาหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๕ ๔.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๘ ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ๓ ๓ ดีมาก มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๒๕ ๒๑.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพของหลักสูตร ๔ ๓ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของครู ๔ ๓ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๔ ๓ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพผู้สอน/วิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ คุณภาพสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้รับบริการ ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๔ ๓.๑๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๓ ๓ ดีมาก มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา ๑๐ ๙ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ๒ ๑.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ ผลการบริหารความเสี่ยง ๒ ๑.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๕ ผลการปฏิบัติตามบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ๑๐ ๘.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๕ ๔.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๒ การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ๕ ๔.๑๐ ดี มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๑๐ ๘.๔๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑ ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา ๕ ๔.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อนเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๕ ๔.๒๐ ดี มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม ๑๐ ๘.๔๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ทางศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ๕ ๔.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๒ ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน ๕ ๔.๒๐ ดี รวม ๑๐๐ ๘๔.๓๐ ดี จากผลการประเมินตนเองภายในภาพรวมของสถานศึกษา ผลการประเมินดังกล่าวเกิดจากความตระหนัก ความพยายามของสถานศึกษา ในการดาเนินกิจกรรม ดังต่อไปนี้ จุดเด่น สถานศึกษาควรกำหนดวิธีการประเมินผลการใช้หลักสูตร โดยเน้นไปที่วัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตรให้ชัดเจน สถานศึกษาร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน วิเคราะห์หาสาเหตุทีทำให้ผู้เรียนมีผลการเรียนต่ำและจบการศึกษาไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด พร้อมร่วมกันกำหนดวิธีการแก้ปัญหา วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม มีการติดตามประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะ แก้ไขพัฒนาระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่องและวางระบบการสอบซ่อม สอนเสริมให้เกิดคุณภาพต่อการพัฒนาผู้เรียน จุดควรพัฒนา สถานศึกษาควรพัฒนาครู โดยการจัดกิจกรรมการอบรมสัมมนาให้ความรู้แก่ครูผู้สอนเน้นวิชาหลักเพื่อนำความรู้ไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและส่งเสริมการใช้กระบวนการวิจัยเพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้ครอบคลุมครูทุกคน ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา (เขียนวิธีการพัฒนาตัวบ่งชี้ที่ได้ผลการประเมินต่ำสุดและรองลงมา) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงขึ้นให้สามารถจบการศึกษาได้ตามกำหนด และมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ชุมชน ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร ถึงสาเหตุที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำและการจบหลักสูตรไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดและร่วมกันกำหนดรูปแบบวิธีการ พร้อมนำไปสู่การปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะพัฒนาปรับปรุงระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการสอนเสริม สอบซ่อมอย่างเป็นระบบเน้นการพัฒนาก่อนการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๓๕ ๒๙.๒๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔ ผู้เรียน คิดเป็นทาเป็น ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๑๐ ๖ พอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ๕ ๔.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑. ๗ ผู้เรียนมีงานทาหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๕ ๔.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๘ ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ๓ ๓ ดีมาก ผลรวมของการประเมิน ๓๕ ๒๙.๒๐ ดีมาก สรุปผลการวิเคราะห์ตนเองของสถานศึกษา ผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ ๑ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ได้คะแนน ๒๙.๒๐ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรดำเนินการให้มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน กำหนดโครงการ กิจกรรม ตัวบ่งชี้ ประเมินผล มีข้อมูลที่เป็นระบบง่ายต่อการตรวจสอบตามแผนที่วางไว้ มีระบบการนำเสนอที่ง่าย รวดเร็ว ถูกต้อง ทันต่อการใช้งาน ข้อมูลความพยายาม สถานศึกษาร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน วิเคราะห์หาสาเหตุทีทำให้ผู้เรียนมีผลการเรียนต่ำและจบการศึกษาไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด พร้อมร่วมกันกำหนดวิธีการแก้ปัญหา วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม มีการติดตามประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะ แก้ไขพัฒนาระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่องและวางระบบการสอบซ่อม สอนเสริมให้เกิดคุณภาพต่อการพัฒนาผู้เรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรทำความเข้าใจกับคณะกรรมการสถานศึกษา ในการร่วม ติดตาม ประเมินผลการร่วมรับผิดชอบการทำกิจกรรมของกศน. ให้ชัดเจนถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติร่วมกัน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรส่งเสริมการจัดทำระบบสารนเทศให้ทันต่อการใช้งานอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ผ่านการตรวจสอบจากผู้รับผิดชอบ ร่วมทั้งมีส่วนร่วมในการติดตามอย่างชัดเจน สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๑ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๑ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๑ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ . จุดเด่น สถานศึกษาพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครบถ้วนทันต่อการใช้งานและนำไปสู่การปรับปรุงและตัดสินใจอย่างถูกต้อง พัฒนาวิธีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเน้นการประเมินตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของหลักสูตร พร้อมทั้งนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง จุดควรพัฒนา ครูควรได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะวิชาหลัก ด้วยการจัดอบรมสัมมนา ศึกษาดูงานให้ตรงตามสภาพปัญหา พัฒนาใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างทั่วถึง สถานศึกษาสามารถสรุปผลการประเมินตนเอง ด้านผลการจัดการศึกษา อยู่ในระดับดี ซึ่งบรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จที่ตั้งไว้ ดังนี้ ด้านที่ ๒ การบริหารจัดการ ประกอบด้วย มาตรฐานที่ ๒ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ , มาตรฐานที่ ๓ ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑-๓.๕ และ มาตรฐานที่ ๖ ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๒๕ ๒๑.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ คุณภาพของหลักสูตร ๔ ๓ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของครู ๔ ๓ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๔ ๓ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ คุณภาพผู้สอน/วิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ คุณภาพสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้รับบริการ ๓ ๓ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๔ ๓.๑๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๓ ๓ ดีมาก ผลรวมของการประเมิน ๒๕ ๒๑.๑๐ ดี สรุปผลการวิเคราะห์ตนเองของสถานศึกษา ผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ได้คะแนน ๒๑.๑๐อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรดำเนินการให้มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน กำหนดโครงการ กิจกรรม ตัวบ่งชี้ ประเมินผล มีข้อมูลที่เป็นระบบง่ายต่อการตรวจสอบตามแผนที่วางไว้ มีระบบการนำเสนอที่ง่าย รวดเร็ว ถูกต้อง ทันต่อการใช้งาน ข้อมูลความพยายาม สถานศึกษาร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน วิเคราะห์หาสาเหตุทีทำให้ผู้เรียนมีผลการเรียนต่ำและจบการศึกษาไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด พร้อมร่วมกันกำหนดวิธีการแก้ปัญหา วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม มีการติดตามประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะ แก้ไขพัฒนาระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่องและวางระบบการสอบซ่อม สอนเสริมให้เกิดคุณภาพต่อการพัฒนาผู้เรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรทำความเข้าใจกับคณะกรรมการสถานศึกษา ในการร่วม ติดตาม ประเมินผลการร่วมรับผิดชอบการทำกิจกรรมของกศน. ให้ชัดเจนถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติร่วมกัน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรส่งเสริมการจัดทำระบบสารนเทศให้ทันต่อการใช้งานอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ผ่านการตรวจสอบจากผู้รับผิดชอบ ร่วมทั้งมีส่วนร่วมในการติดตามอย่างชัดเจน สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๒ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๒ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๒ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ . จุดเด่น สถานศึกษาพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครบถ้วนทันต่อการใช้งานและนำไปสู่การปรับปรุงและตัดสินใจอย่างถูกต้อง พัฒนาวิธีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเน้นการประเมินตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของหลักสูตร พร้อมทั้งนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง จุดควรพัฒนา ครูควรได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะวิชาหลัก ด้วยการจัดอบรมสัมมนา ศึกษาดูงานให้ตรงตามสภาพปัญหา พัฒนาใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างทั่วถึง มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา ๑๐ ๙ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๒ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ๒ ๑.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๓ ผลการบริหารความเสี่ยง ๒ ๑.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๔ ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๕ ผลการปฏิบัติตามบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา ๒ ๒ ดีมาก รวมคะแนนโดยภาพรวม ๑๐ ๙ ดีมาก สรุปผลการวิเคราะห์ตนเองของสถานศึกษา ผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา ได้คะแนน ๙ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรส่งเสริมการจัดทำระบบสารนเทศให้ทันต่อการใช้งานอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ผ่านการตรวจสอบจากผู้รับผิดชอบ ร่วมทั้งมีส่วนร่วมในการติดตามอย่างชัดเจน ทบทวนการบริหารเชิงระบบ ซึ่งเป็นแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในที่ดี และจัดระเบียบวิถีการทำงานของบุคลากรให้เป็นไปตามเส้นทางบริหารเชิงคุณภาพ PDCA จะทำให้การปรันคุณภาพภายใน มีคุณภาพต่อระบบบริหารจัดการได้อย่างดีและเป็นส่วนหนึ่งของกาบริหารอย่างแท้จริง . ข้อมูลความพยายาม ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงขึ้นให้สามารถจบการศึกษาได้ตามกำหนด และมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ชุมชน ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร ถึงสาเหตุที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำและการจบหลักสูตรไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดและร่วมกันกำหนดรูปแบบวิธีการ พร้อมนำไปสู่การปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะพัฒนาปรับปรุงระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการสอนเสริม สอบซ่อมอย่างเป็นระบบเน้นการพัฒนาก่อนการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๓ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๓ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๓ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ . จุดเด่น ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงขึ้นให้สามารถจบการศึกษาได้ตามกำหนด และมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ชุมชน ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร ถึงสาเหตุที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำและการจบหลักสูตรไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดและร่วมกันกำหนดรูปแบบวิธีการ พร้อมนำไปสู่การปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะพัฒนาปรับปรุงระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการสอนเสริม สอบซ่อมอย่างเป็นระบบเน้นการพัฒนาก่อนการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน จุดควรพัฒนา สถานศึกษาควรพัฒนาครู โดยการจัดกิจกรรมการอบรมสัมมนาให้ความรู้แก่ครูผู้สอนเน้นวิชาหลักเพื่อนำความรู้ไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและส่งเสริมการใช้กระบวนการวิจัยเพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้ครอบคลุมครูทุกคน ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา (เขียนวิธีการพัฒนาตัวบ่งชี้ที่ได้ผลการประเมินต่ำสุดและรองลงมา) สถานศึกษาพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครบถ้วนทันต่อการใช้งานและนำไปสู่การปรับปรุงและตัดสินใจอย่างถูกต้อง พัฒนาวิธีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเน้นการประเมินตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของหลักสูตร พร้อมทั้งนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ด้านที่ ๔ ด้านการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย มาตรฐานที่ ๔ ตัวชี้วัดที่ ๔.๑-๔.๒ มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ๑๐ ๘.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๕ ๔.๑๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๒ การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ๕ ๔.๑๐ ดี รวมคะแนนโดยภาพรวม ๑๐ ๘.๒๐ ดี ผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ได้คะแนน ๘.๒๐ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรส่งเสริมให้มีการตั้งเป้าหมายของกิจกรรมครั้งต่อไป ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรทำความเข้าใจกับคณะกรรมการสถานศึกษา ในการร่วม ติดตาม ประเมินผลการร่วมรับผิดชอบการทำกิจกรรมของกศน. ให้ชัดเจนถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติร่วมกัน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรส่งเสริมการจัดทำระบบสารนเทศให้ทันต่อการใช้งานอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ผ่านการตรวจสอบจากผู้รับผิดชอบ ร่วมทั้งมีส่วนร่วมในการติดตามอย่างชัดเจน ข้อมูลความพยายาม ทบทวนการบริหารเชิงระบบ ซึ่งเป็นแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในที่ดี และจัดระเบียบวิถีการทำงานของบุคลากรให้เป็นไปตามเส้นทางบริหารเชิงคุณภาพ PDCA จะทำให้การปรันคุณภาพภายใน มีคุณภาพต่อระบบบริหารจัดการได้อย่างดีและเป็นส่วนหนึ่งของกาบริหารอย่างแท้จริง สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๔ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๔ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๔ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ . จุดเด่น ทบทวนการบริหารเชิงระบบ ซึ่งเป็นแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในที่ดี และจัดระเบียบวิถีการทำงานของบุคลากรให้เป็นไปตามเส้นทางบริหารเชิงคุณภาพ PDCA จะทำให้การปรันคุณภาพภายใน มีคุณภาพต่อระบบบริหารจัดการได้อย่างดีและเป็นส่วนหนึ่งของกาบริหารอย่างแท้จริง จุดควรพัฒนา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรทำความเข้าใจกับคณะกรรมการสถานศึกษา ในการร่วม ติดตาม ประเมินผลการร่วมรับผิดชอบการทำกิจกรรมของกศน. ให้ชัดเจนถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติร่วมกัน มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๑๐ ๘.๔๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑ ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา ๕ ๔.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อนเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๕ ๔.๒๐ ดี รวมคะแนนโดยภาพรวม ๑๐ ๘.๔๐ ดี ผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ได้คะแนน ๘.๔๐ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก ทบทวนการบริหารเชิงระบบ ซึ่งเป็นแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในที่ดี และจัดระเบียบวิถีการทำงานของบุคลากรให้เป็นไปตามเส้นทางบริหารเชิงคุณภาพ PDCA จะทำให้การปรันคุณภาพภายใน มีคุณภาพต่อระบบบริหารจัดการได้อย่างดีและเป็นส่วนหนึ่งของกาบริหารอย่างแท้จริง ข้อมูลความพยายาม สถานศึกษาพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครบถ้วนทันต่อการใช้งานและนำไปสู่การปรับปรุงและตัดสินใจอย่างถูกต้อง พัฒนาวิธีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเน้นการประเมินตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของหลักสูตร พร้อมทั้งนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๕ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๕ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๕ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ . จุดเด่น ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงขึ้นให้สามารถจบการศึกษาได้ตามกำหนด และมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ชุมชน ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร ถึงสาเหตุที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำและการจบหลักสูตรไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดและร่วมกันกำหนดรูปแบบวิธีการ พร้อมนำไปสู่การปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะพัฒนาปรับปรุงระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการสอนเสริม สอบซ่อมอย่างเป็นระบบเน้นการพัฒนาก่อนการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน จุดควรพัฒนา สถานศึกษาพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครบถ้วนทันต่อการใช้งานและนำไปสู่การปรับปรุงและตัดสินใจอย่างถูกต้อง พัฒนาวิธีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเน้นการประเมินตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของหลักสูตร พร้อมทั้งนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม มาตรฐาน น้ำหนัก(คะแนน) ผลการประเมินตนเอง คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม ๑๐ ๘.๔๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐานรักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายทางศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ๕ ๔.๒๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๒ ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน ๕ ๔.๒๐ ดี รวมคะแนนโดยภาพรวม ๑๐ ๘.๔๐ ดี ผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐานที่ ๖ มาตรการส่งเสริม ได้คะแนน ๘.๔๐ อยู่ในระดับคุณภาพดี ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อมูลความตระหนัก การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแก้งสนามนาง ควรดำเนินการให้มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน กำหนดโครงการ กิจกรรม ตัวบ่งชี้ ประเมินผล มีข้อมูลที่เป็นระบบง่ายต่อการตรวจสอบตามแผนที่วางไว้ มีระบบการนำเสนอที่ง่าย รวดเร็ว ถูกต้อง ทันต่อการใช้งาน ข้อมูลความพยายาม ทบทวนการบริหารเชิงระบบ ซึ่งเป็นแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในที่ดี และจัดระเบียบวิถีการทำงานของบุคลากรให้เป็นไปตามเส้นทางบริหารเชิงคุณภาพ PDCA จะทำให้การปรันคุณภาพภายใน มีคุณภาพต่อระบบบริหารจัดการได้อย่างดีและเป็นส่วนหนึ่งของกาบริหารอย่างแท้จริง สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๖ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๖ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ/ไม่บรรลุ ตามเป้าหมายความสำ เร็จของมาตรฐานที่ ๖ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ . ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงขึ้นให้สามารถจบการศึกษาได้ตามกำหนด และมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น ชุมชน ผู้เรียน ครู ผู้บริหาร ถึงสาเหตุที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำและการจบหลักสูตรไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดและร่วมกันกำหนดรูปแบบวิธีการ พร้อมนำไปสู่การปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะพัฒนา สถานศึกษาร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน วิเคราะห์หาสาเหตุทีทำให้ผู้เรียนมีผลการเรียนต่ำและจบการศึกษาไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด พร้อมร่วมกันกำหนดวิธีการแก้ปัญหา วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม มีการติดตามประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะ แก้ไขพัฒนาระหว่างเรียนอย่างต่อเนื่องและวางระบบการสอบซ่อม สอนเสริมให้เกิดคุณภาพต่อการพัฒนาผู้เรียน สรุปผลการวิเคราะห์ตนเองของสถานศึกษา สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ดี ซึ่งบรรลุเป้าหมายความสำเร็จที่กำหนดไว้ จุดเด่นของสถานศึกษา ๑. คณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่ายมีความเข้มแข้งเอื้อต่อการจัดการศึกษา ๒. สถานศึกษามีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน/สังคมทำให้ได้รับความร่วมมือในการดำเนินโครงการ/ กิจกรรม จุดที่ควรพัฒนา ๑. สถานศึกษาควรพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถตรงกับงานหรือวิชาที่ต้องรับผิดชอบรวมถึงการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานหรือการสอนให้เป็นระบบ ๒. สถานศึกษาควรจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้มีกิจกรรมและสื่อที่หลากหลายเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ไดตามศักยภาพของผู้เรียน ๓. เอกสารหลักฐานขาดความชัดเจน สมบรูณ์ โดยเฉพาะการติดตามประเมินผลการดำเนินงานควรดำเนินการให้เกิดความชัดเจน ในประเด็นการวิเคราะห์ผลและผลการประเมินมาพิจารณาเพื่อการพัฒนางาน ๔. สถานศึกษาควรดำเนินการเพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความหลากหลายของชุมชนให้คงอยู่ โดยมีผู้สืบทอดภูมิปัญญาในรุ่นต่อไป ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา ๕. สถานศึกษาควรพัฒนางานด้านบุคลากรโดยเฉพาะครู เริ่มจากการสำรวจเพื่อวางแผนพัฒนาบุคลากร จากนั้นจัดโครงการ/กิจกรรมพัฒนาบุคลากรตามแผนที่วางไว้ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานบุคลากร แล้วนำผลการประเมินมาวิเคราะห์ พิจารณาว่าบุคลากรท่านใดควรพัฒนาความรู้ความสามารถหรือทักษะด้านใดเป็นพิเศษ ทั้งในระดับเร่งด่วนไปจนถึงภายใน ๓ ทำให้เป็นระบบ ๖. สถานศึกษาควรเก็บข้อมูล/สำรวจเกี่ยวกับผู้เรียนเพื่อวางแผนจัดโครงการ/กิจกรรม พร้อมทั้งใช้สื่อ เทคโนโลยี ให้ตรงกับผู้เรียนที่มีความหลากหลาย เพื่อจัดให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพของผู้เรียนที่มีความแตกต่างกันทั้งช่วงอายุและสภาพทางบ้าน ๗. สถานศึกษาควรจัดการเอกสารหลักฐานให้มีความเป็นระบบ ชัดเจน และสมบรูณ์ โดยเฉพาะเรื่อง การดำเนินโครงการ/กิจกรรม รวมถึงการติดตามและประเมิน เพื่อนำผลมาวิเคราะห์และพิจารณาเพื่อการพัฒนางาน ซึ่งอาจนำเอาเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการดำเนินงานทั้งด้านการจัดเก็บและการประมวลผล ๘. สถานศึกษาควรดำเนินงานเพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความหลากหลายของชุมชนให้คงอยู่ โดยเริ่ม จากการให้ความสำคัญกับปราชญ์ชาวบ้าน/ผู้เฒ่าในหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือองค์ความรู้ดั้งเดิมที่เป็นประโยชน์และกำลังจะสูญหายเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนเพื่อให้ท่านผู้นั้นได้เห็นว่าสถานศึกษาให้ความสำคัญ จากนั้นจึงจัดผู้เรียนในแต่ละช่วงอายุมาเรียนรู้เพื่อสืบทอดภูมิปัญญาในรุ่นต่อไป ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต ๕. สถานศึกษาควรเร่งดำเนินการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น เครื่อง คอมพิวเตอร์ หรือ หนังสือแบบเรียนใช้เวียนกันในแต่ละ กศน.ตำบล โดยจัดชั่วโมงสอนในแต่ละรายวิชาไม่ตรงกันจะได้ระดมหนังสือแบบเรียนได้ ทีวีดาวทียมควรจัดตารางเปิดและแจ้งประชาสัมพันธ์ให้ผู้เรียนทราบเวลาที่ชัดเจนเพื่อให้ผู้เรียนที่สนใจสามารถบริหารเวลาเข้าชมได้ เป็นต้น ๖. สถานศึกษาควรนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อการจัดการกับเอกสารหลักฐานและข้อมูลพื้นฐาน เพื่อใช้ในการการบริหารจัดการองค์กรอย่างเป็นระบบ สะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ควรดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี ๗. สถานศึกษาควรจัดประชุมระดมสมองเพื่อวางแผนหาทางอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความหลากหลายใน ชุมชนให้สามารถดำรงอยู่ต่อไป เช่น หมอขวัญ แพทย์แผนไทย เป็นต้น อาจเริ่มจากการสำรวจและรวบรวมองค์ความรู้ให้เป็นระบบ ด้วยการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยจัดการทำเป็นระบบฐานข้อมูลบนสื่อดิจิตอล จากนั้นจึงดำเนินโครงการ/กิจกรรม จัดผู้เรียนเพื่อเรียนรู้สืบทอดต่อไป ๘. สถานศึกษาควรมีการจัดโครงการ/กิจกรรมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้(KM) ด้านการปฏิบัติงานหรือแนว ทางการสอนระหว่างบุคลากรหรือผู้สอนใน กศน.ตำบลแต่ละตำบลเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีแนวทางการดำเนินการที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง คณะทำงาน ที่ปรึกษา นายคมพิสิษฐ์ ดังไธสงฆ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอแก้งสนามนาง คณะทำงาน ๑. นางสาวธัญพัฒน์ อ่อนตา ครูผู้ช่วย ๒. นางสาวธนัชชา ควงขุนทด ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ๓. นางเพ็ญศิริ ทิพโชติ ครู กศน.ตำบล ๔. นางรัชนีวรรณ สกุลจร ครู กศน.ตำบล ๕. นางสาวสุเนตรา ศรีภู ครู กศน.ตำบล ๖. นางสาวไพรินทร์ อ่อนสา ครู กศน.ตำบล ๗. นางสาวณัทชุดา ใจเย็น ครู กศน.ตำบล ๘. นายเจตนิพัทธ์ ขวัญสวัสดิ์ ครูศูนย์การเรียนชุมชน ๙. นางสาวณัฐกานต์ ตลับกลาง ครูศูนย์การเรียนชุมชน ๑๐. นางไมล์ตรี ศรีสุวรรณภูมิ ครูศูนย์การเรียนชุมชน ๑๑. นางสาวเกษฎา คุณเสส ครูศูนย์การเรียนชุมชน ๑๒. นางนิติยา ผ่านภูเขียว บรรณารักษ์จ้างเหมา ๑๓. นายกิตติศักดิ์ ชาติเผือก บรรณารักษ์จ้างเหมา รวบรวมและเรียบเรียง นางสาวธนัชชา ควงขุนทด ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน



 
ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแก้งสนามนาง 
ถนนนิเวศรัตน์ ตำบลแก้งสนามนาง  อำเภอแก้งสนามนาง  จังหวัดนครราชสีมา
โทรศัพท์ 0-4433-9133   โทรสาร  0-4433-9133  kaeng@korat.nfe.go.th

Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.01