[x] ปิดหน้าต่างนี้
 

 



 

   

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ  พุทธศักราช  2544

โครงสร้างหลักสูตร

ระดับประถมศึกษา

หมวดวิชาพื้นฐาน
(หน่วยกิต)

วิชาประสบการณ์
(หน่วยกิต)

กิจกรรมพัฒนาคุณภาชิวิต
(จำนวนชั่วโมง)

ภาษาไทย  (5)
คณิตศาสตร์  (5)
วิทยาศาสตร์  (5)
ภาษาต่างประเทศ  (5)

พัฒนาสังคมและชุมชน (7)
พัฒนาทักษะชีวิต1 (7)
พัฒนาทักษะชีวิต2 (7)
พัฒนาอาชีพ (7)

ไม่น้อยกว่า  200  ชั่วโมง

รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า  48  หน่วยกิต และต้องทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตไม่น้อยกว่า  200  ชั่วโมง

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

หมวดวิชาพื้นฐาน
(หน่วยกิต)

วิชาประสบการณ์
(หน่วยกิต)

กิจกรรมพัฒนาคุณภาชิวิต
(จำนวนชั่วโมง)

ภาษาไทย  (6)
คณิตศาสตร์  (6)
วิทยาศาสตร์  (6)
ภาษาต่างประเทศ  (6)

พัฒนาสังคมและชุมชน (8)
พัฒนาทักษะชีวิต1 (8)
พัฒนาทักษะชีวิต2 (8)
พัฒนาอาชีพ (8)

ไม่น้อยกว่า  200  ชั่วโมง

 รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า  56  หน่วยกิต และต้องทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตไม่น้อยกว่า  200  ชั่วโมง

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หมวดวิชาพื้นฐาน
(หน่วยกิต)

วิชาประสบการณ์
(หน่วยกิต)

กิจกรรมพัฒนาคุณภาชิวิต
(จำนวนชั่วโมง)

ภาษาไทย  (7)
คณิตศาสตร์  (7)
วิทยาศาสตร์  (7)
ภาษาต่างประเทศ  (7)

พัฒนาสังคมและชุมชน (12)
พัฒนาทักษะชีวิต1 (12)
พัฒนาทักษะชีวิต2 (12)
พัฒนาอาชีพ (12)

ไม่น้อยกว่า  200  ชั่วโมง

รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า  76  หน่วยกิต และต้องทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตไม่น้อยกว่า  200  ชั่วโมง 

แผนการจัดการศึกษา
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช 2544
 

ภาคเรียนที่ 2  ระหว่างวันที่ 1-31 ตุลาคม

กิจกรรมการเรียนการสอน

ภาคเรียนที่ 1 ระหว่างวันที่  16 พฤษภาคม ถึง 11 ตุลาคม

ภาคเรียนที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน  ถึง  1 เมษายน

การจัดกระบวนการเรียนรู้โดยการพบกลุ่ม

        1. การพบกลุ่ม เน้นกระบวนการให้นักศึกษาสร้างความรู้ความคิดได้ดวยตนเอง ให้เวลาประมาณ 3-5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

        2. กิจกรรมการเรียนรู้ต่อเนื่องใช้เวลาประมาณวันละ 3-4 ชั่วโมง

        3. การจัดทำโครงงาน

        4. การจัดการเรียนรู้โดยการสอนเสริม

        5.  การทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต

การวัดและประเมินผล มี 2 ลักษณะดังนี้

        1. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ประกอบด้วย

            1.1 การวัดและประเมินผลการเรียนหมวดวิชา

            1.2 การประเมินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต

            1.3 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

            1.4 การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน

       2. การประเมินคุณภาพการศึกษานอกดรงเรียนระดับชาติ

 

การลงทะเบียนเรียนรายวิชา
       การลงทะเบียนเรียนตามโครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ให้ลงทะเบียนเรียนเป็นรายวิชาและตามจำนวนหน่วยกิต ในแต่ละภาคเรียนดังนี้
       1. ระดับประถมศึกษา ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต ให้ลงทะเบียนเรียนได้ภาคเรียนละไม่เกิน 14 หน่วยกิต
       2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต ให้ลงทะเบียนเรียนได้ภาคเรียนละไม่เกิน 16 หน่วยกิต
       3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 76 หน่วยกิต ให้ลงทะเบียนเรียนได้ภาคเรียนละไม่เกิน 20 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

       จากโครงสร้างหลักสูตรดังกล่าวข้างต้น สถานศึกษาต้องจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในรายวิชาบังคับ ตามที่กำหนดไว้ในโครงสร้างหลักสูตร สำหรับรายวิชาเลือกนักศึกษาสามารถเลือกตามรายวิชาที่สำนักงาน กศน. จัดทำขึ้น หรือพัฒนาขึ้นได้ตามความต้องการของผู้เรียนและชุมชน
หมายเหตุ
วิชาเลือกและวิชาบังคับในแต่ละระดับสถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียน เรียนรู้จากการทำโครงงาน จำนวนอย่างน้อย 3 หน่วยกิต

 

 

การรับสมัครนักศึกษา  ขึ้นทะเบียน / ลงทะเบียนเรียน

ภาคเรียนที่ 1  ระหว่างวันที่ 1-30 เมษายน
          โครงสร้างหลักสูตร พุทธศักราช 2551

ภาคเรียนที่ 2  ระหว่างวันที่ 1-31 ตุลาคม
        โครงสร้างหลักสูตร พุทธศักราช 2551



 
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอโนนสูง  จังหวัดนครราชสีมา
ถนนเกษตร  ตำบลโนนสูง อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา  โทรศัพท์ 0-4437-9029  โทรสาร  0-4437-9029  nonsung_2025@hotmail.com  nikorn@korat.nfe.go.th
Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.01